Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:star: ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด Drugs in the cardiovascular…
:star: ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด Drugs in the cardiovascular system :star:
ยารักษาอาการหัวใจล้มเหลว
(Drug used for congestive heart failure: CHF) :<3:
Arrhythmias (หัวใจเต้นผิดจังหวะ)
Effect on others organ
Gastrointestinal tract : คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร
-CNS: รบกวนการมองเห็น Chromatopsia มองสีผิด มองเห็นแสงจ้ากลางภาพ
-Gynecomastia(rare): ในผู้ชาย ทําให้หน้าอกใหญ่ขึ้น
Phosphodiesterase inhibitors; Amrinone, Milrinone ใช้ในกรณีที่คนไข้มีอาการ เฉียบพลัน รุนแรง PDI ยับยั้ง phosphodiesterases (ทําหน้าที่ในการทําลาย cAMP (3 ', 5'-cyclic adenosine monophosphate) >> ทําให้ cAMP สูงขึ้น
Beta-adrenoceptor stimulants; dopamine, dobutamine
ออกฤทธิ์ที่Receptor 3 ชนิด คือ alpha, beta, dopamine
ยาต้านหัวใจเต้นผิดจังหวะ
(Antiarrhythmic drug) :<3:
ยาที่ใช้เพื่อทําให้หัวใจกลับมาเต้น โดยอาศัย pacemaker ปกติ
ยาปรับคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ผิดปกและป้องกันไม่ให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ
แบ่งเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจตามลักษณะการเกิด Action potentials (AP) เป็น 2 ชนิด
1.Fast-response cell : เซลล์กล้ามเนื้อของ ventricles มี AP 4 ระยะ
ระยะ 0 rapid depolarization
–Na+ Channel เปิดทําให้Na+ ไหลเข้าเซลล์อย่างรวดเร็ว
ระยะ 1 partial repolarization - Na+ Channel inactivated และ K+ Channel เริ่มเปิด ทําให้ K+ ไหลออกนอกเซลล์
ระยะ 2 plateau phase - Ca2+ ไหลเข้าเซลล์ และ K+ ไหลออกนอกเซลล์
ระยะ 3 rapid repolarization - K+ ไหลออกนอกเซลล์อย่างรวดเร็ว Ca2+ Channel ปิด
ระยะ 4 diastolic depolarization -ระยะพัก ซึ่งมีค่าศักย์เยื่อหุ้มเซลล์ (resting membrane potential) ที่เกิดจาก K+ ไหลออก แต่ Ca2+ Na+ ไหลเข้าอย่างช้าๆ
Slow-response cell เซลล์ที่ Sinoatrial (SA) node และ Artrioventricular (AV) node
ระยะ 0 rapid depolarization -มีความชันน้อย ความสูง AP น้อย -เกิดจากการเปิด Ca2+ Channel (5 Na+ Channel
ระยะ 1 partial repolarization-Na+ Channel inactivated และ K+ Channel เริ่มเปิด ทําให้ K+ ไหลออกนอกเซลล์
ระยะ 2 plateau phase ไม่มี
ระยะ 3 rapid repolarization- K+ ไหลออกนอกเซลล์อย่างรวดเร็ว Ca2+ Channel ปิด
ระยะ 4 diastolic depolarization -ระยะพัก ซึ่งมีค่าศักย์เยื่อหุ้มเซลล์ (resting membrane potential) ที่เกิดจาก K+ ไหลออก แต่ Ca2+ Na+ ไหลเข้าอย่างช้าๆ
ความผิดปกติของการเต้นของหัวใจ
ภาวะที่ parasympathetic สูง - ทําให้เกิด AV block (เป็น arrhythmia ชนิดหนึ่ง)
2.Reentry- กระแสไฟฟ้าวิ่งวน หรือ reentry
Prevention -สาเหตุมักเกิดจากความเครียด ดังนั้นต้องทําให้เกิด relaxation -ระวังการได้รับสารที่มีฤทธิกระตุ้น เช่น caffeine , nicotine , alcohol , stimulant drug
Class II : Beta-Adrenergic Blocker - Propranolol , Esmolol , Sotalol
low dose - ออกฤทธิ์
block beta-adrenergic receptor
high dose - Quinidine like action ออกฤทธิ์ แบบ Class I
Class III : Prolong Repolarization • Amiodarone , Sotalol, Dofetilide , Ibutilide
Heterogeneous group - มีฤทธิ์หลากหลายมากกว่า 1 class, block K-channel
Treatment - รักษาก็ต่อเมื่อ ส่งผลให้ CO & BP ลดลง -Non-pharmacologic treatment: Cardioversion , pacemaker , surgery - Pharmacologic treatment : Antiarrhythmic drugs
Class I: Na+ channel blocker * ปิดกั้น Na-channel ในระยะ activated และ ยัง block K-channel ได Class IB Lidocaine เป็นยาชาเฉพาะที่ (local anesthetic drug) , Mexiletine , Tocainide Class IC Flecainide , Propafenone , Moricizin • potent Na-channel blocker โดยออกฤทธิเฉพาะที่ phase 0 และออกฤทธิแรง
Class IV : Calcium channel Blocker Drug interaction with digoxin -Verapamil จะเพิ่ม digoxin lv. ทําให้เกิด digoxin intoxication
ยาลดระดับไขมันในเลือด
(Antihyperlipidemic drug) :<3:
Hyperlipidemic คือ ภาวะไขมันในเลือดสูง
Dyslipidemia คือ ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ซึ่งส่วนใหญ่จะหมายถึง ไขมันในเลือดสูง
Lipoprotein
Chylomicrons
Very low-density lipoproteins (VLDL) มีความหนาแน่นตํ่ามาก ขนาดใหญ่
Intermediate density lipoproteins (IDL) ไม่ค่อยเจอในเลือด
Low-density lipoproteins (LDL)
-Lp(a) lipoprotein เป็น LDL ที่เกาะกับ protein A
High-density lipoproteins (HDL) มีความหนาแน่นมากที่สุด ขนาดเล็กที่สุด
การแบ่งภาวะไขมันในเลือดสูง
แบ่งตามชนิดของไขมันที่เราเจอในระดับสูง ในกระแสเลือด
hypercholesterolemia : มี C สูง
hypertriglyceridemia : มี TG สูง
combined hyperlipidemia : มี C, TG สูง
HMG - CoA reductase inhibitors
การนําไปใช้
เป็น first choice สําหรับลด cholesterol ใช้กับคนไข้ที่มี
cholesterol ในเลือดสูง *
แนะนําให้กิน หลังอาหารเย็นหหรือก่อนนอน เพราะร่างกายเราสังเคราะห์ cholesterol ตอนกลางคืน เพื่อประโยชน์สูงสุด
Bile acid binding resins
Hypercholesterolemia(ใช้เป็นยาเดี่ยวหรือใช้ร่วมกับ statins)
2.ลดอาการคันในผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นของทางเดินน้ำดี
3.Digitalis (digoxin) toxicity(resins can bind to digitalis glycosides)
อาการข้างเคียงต่ำ เนื่องจากยาไม่ถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด
Gastrointestinal discomfort อาการข้างเคียงต่อระบบทางเดินอาหาร ท้องผูก (constipation), ท้องอืด (bloating), คลื่นไส้อาเจียน, อาหารไม่ย่อย (dyspepsia) (ขนาดยาสูงขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพในการลด LDL-C แต่ผู้ป่วยมักทนต่ออาการข้างเคียงไม่ได้)
absorption of vitamins and some drugs(digoxin, warfarin, statins, furosemide, propranolol, etc).* กรณีมีการใช้ยาอื่นร่วมด้วย ควรให้กินยาอื่น
1 ชั่วโมง ก่อนกิน resinหรือให้กินยาอื่นหลังจากกิน resin ไปแล้วอย่างน้อย 2 ชั่วโมง
Cholesterol Absorption inhibitors
Ezetimibe - ยับยั้งการดูดซึม cholesterol ที่ลำไส้ โดยการยับยั้งโปรตีนที่ทำหน้าที่ขนส่ง cholesterol ที่ชื่อ NPC1L1
ยับยั้งการดูดซึมกลับของ cholesterol ที่ถูกขับออกมาทางน้ำดีEffects ลดปริมาณ cholesterol ที่ถูกขนส่งไปที่ตับ(โดย chylomicron remmants)ตับเพิ่มจำนวน LDL receptor มากขึ้น
Fibric acid derivatives
กระตุ้นการทำงานของ PPARa มีผลควบคุมการสร้างโปรตีนต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ lipoprotein metabolism
Side effects
ผู้ป่วยส่วนมากทนต่อยาได้ดี-Gastrointestinal side effects (~5%)
เพิ่มปริมาณเอนไซม์ตับเล็กน้อย (liver transaminases and alkaline phosphatase)
Myopathy: มีอุบัติการณ์สูงขึ้นเมื่อใช้ร่วมกับยากลุ่ม statins ในขนาดสูง(โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อใช้ยา gemfibrozil)
เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดนิ่วในถุงน้ำดี (โดยเฉพาะอย่างยิ่งยา Clofibrate)
Nicotinic acid (Niacin)
ยับยั้งการสลาย TG ในเนื้อเยื่อไขมัน ทำให้มีกรดไขมันอิสระขนส่งไปที่ตับน้อยลง ตับจึงลด การสร้าง TG >>>> ลดการผลิต VLDL>>>> LDL ลดลง
เพิ่มการทำงานของ lipoprotein lipase ลดการกำจัด apoA-l ส่งผลให้ม ปริมาณ HDL เพิ่มมากขึ้น
Omega-3 fatty acids
Eicosapentaenoic acid, Decohexanoic acid
Clinical uses: hypertriglyceridemia TG 45%
เปลี่ยนแปลงการทำงานของ PPAR-a
Dose: 3-4 g/day
Fish oil supplements can be used in combination with fibrates,niacin or statins.
Side effects -diarrhea, excess bleeding
Drug interaction: antiplatelet, anticoagulant ปัจจุบันที่แพร่หลายคือ statin และ fbrate
ยารักษาภาวะเจ็บหน้าอก
(Antiangina drug) :<3:
Preload
• ความตึงตัวของหัวใจห้องล่างซ้ายในขณะที่มันคลายตัว
(end-diastolic ventricular wall stess)
• วัดยาก>>ใช้ปริมาณเลือดที่อยู่ในหัวใจห้องล่างซ้ายก่อนบีบตัว=Ventricular volume
• ขึ้นกับความจุหลอดเลือดดํา (venous capacitance)
Afterload
• ความตึงตัวของผนังหัวใจห้อง ventricles ในช่วง systole
• ภาระ (load) ที่หัวใจห้อง ventricle ต้องออกแรงบีบเพื่อฉีดเลือดออกไป
• Arterial pressure ความดันในหลอดเลือดแดง แปรผันตามความต้านทานในหลอดเลือด (total peripheral resistance) ดังนั้นการให้ยาขยายหลอดเลือด (vasodilators) ที่ขยายหลอดเลือดแดงก็จะลด Afterload ได้ (ก็คือลดความดันที่หัวใจจะต้องทําหน้าที่ในการฉีดเลือดออกไป)
Pathophysiology of Angina pectoris
ปัจจัยที่มีผลที่ทําให้เราต้องการออกซิเจนมากขึ้น
Heart rate อัตราการเต้นของหัวใจ
Contractility การบีบตัว
Preload
Afterload
ยาต้านความดันโลหิตสูง
(Antihypertensive drug) :<3:
Beta blocker
Beta-adrenergic receptor antagonist (Beta-blockers) (BBs)
• ยากลุ่มนี้ มักลงท้ายด้วย –olol ตัวอย่างและข้อบ่งใช้ยา Propranolol, Atenolol, Bisoprolol
Beta-adrenergic receptor antagonist (beta-blocker) (BBs) Side effects
Hypotension ความดันโลหิตต่ำ hypoglycemia น้ำตาลในเลือดต่ำ bradycardiaหัวใจเต้นช้า weakness/fatigueเหนื่อย ไม่มีเรง
การรักษาโรคความดันโลหิตสูง
Non-pharmacological treatment
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดำรงชีวิต
1.การควบคุมน้ำหนัก
2.การปรับเปลี่ยนประเภทอาหาร
3.หยุดสูบบุหรี่
4.การออกกำลังกายแบบแอโรบิกอย่างต่อเนื่อง
หลีกเลี่ยงอาหารที่เค็มจัดหรือมีปริมาณโซเดียมสูง - รับประทานผักและผลไม้เป็นประจำ - หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง
Pharmacological treatment
รักษาความดันเลือดให้น้อยกว่า 140/90 mmHg
Blood pressure (ความดันเลือด)= Cardiac output x total peripheral resistance
ลด Cardiac output
เพิ่มการขับนํ้าและเกลือออกจากร่างกาย
ลด Venous turn
Response to sympathetic activation
Heart rate สูง - Blood pressure สูง
Angiotensin converting enzyme inhibitors (ACEIs)
บทบาทของระบบ RAAS ในการควบคุม BP และตําแหน่งที่ยาออกฤทธิ์
angiotensinogen (จากตับ) ถูกเปลี่ยนเป็น angiotensin I โดย renin ที่หลั่งจากไต
จากนั้น angiotensin I ถูกเปลี่ยนเป็น angiotensin II โดยเอนไซม์ Angiotensin converting enzyme (ACE) ซึ่งหลั่งจากปอด
angiotensin II ทําให้หลอดเลือดหด และกระตุ้นการหลั่ง aldosterone จากต่อม adrenal cortex หรือต่อมหมวกไตชั้นนอก
ต่อมหมวกไตชั้นนอก หลั่ง aldosterone เพิ่มการดูดกับ NaCL และนํ้า ทําให้ความดันเลือดเพิ่ม
การออกฤทธิ์ของยา
ยาที่เป็น beta blocker สามารถยับยั้งการหลั ่ง renin จากไต
ยา ACE inhibitors
ยั้บยั้งการเปลี่ยน angiotensin I ถูกเปลี่ยนเป็น angiotensin II
ยับยั้งการทําลาย bradykinin ซึ่ง bradykinin ทําให้หลอดเลือดขยาย ผลคือ blood pressure ลดลง
ยา ARB
มีผลเฉพาะการปิดกั้นฤทธิของ angiotensin II (ไม่มีผลต่อ bradykinin)
Angiotensin converting enzyme inhibitors (ACEIs) Side effects
bradykinin กระตุ้นปลายประสาทในทางเดินหายใจ
ภาวะความดันโลหิตต่ำ (Hypotension) - ไอแห้ง (Dry cough) - ค่าการทำงานของไตเพิ่มขึ้น (Creatinine rising)
ภาวะโพแทสเซียมสูง (Hyperkalemia)
ทำให้เกิดภาวะหัวใจเต้นผิดปกติได้
ควรระมัดระวังเมื่อใช้ร่วมกับยาที่ทำให้ระดับโพแทสเซียมสูง เช่น Aldoseterone antagonist = ยา Spironolactone หรือการกินผักและผลไม้ที่มีโพแทสเยมสูง
การแพ้ยาแบบ Angioedema
ข้อห้ามใช้
-Pregnancy คนท้อง - pulmonary hypoplasia - skull hypoplasia - Hyperkalemia (K>5.5mEq/L) - ผู้ป่วยที่มีอัตราการกรองของไตต่ำ
ยากลุ่มนี้ มักลงท้ายด้วย –pril ตัวอย่างและข้อบ่งใช้ยา
Captopril ไม่ผ่าน metabolism
Lisinopril ไม่ผ่าน metabolism
* Angiotensin receptor blockers (ARBs)
• ยากลุ่มนี้ มักลงท้ายด้วย –sartan ตัวอย่างและข้อบ่งใช้ยา Valsatan, Candesartan , Irbesartan
Angiotensin receptor blockers (ARBs) Side effects
ภาวะความดันโลหิตต่ำ (Hypotension)
Diuretics (ยาขับปัสสาวะ)
• ใช้เพื่อ : ลดอาการบวมและลดความดัน
ยาในกลุ่ม Diuretic drugs จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ
Proximal tubule diuretics
Osmotic diuretics ออกฤทธิ์ที่ Proximal tubule: ตัวอย่าง Mannitol • Heart failure• Pulmonary edema •Hyponatremia ( Na+ ในเลือดตํ่า )• Hyperakalemia (K+ ในเลือดสูง ) • Hypovolumenia• Hypotension
ข้อควรระวัง
* ยาไม่ถูกดูดซึมในทางเดินอาหาร ทําให้เกิดการดึงนํ้าเข้ามาในทางเดินอาหาร เกิด Diarrhea
• ไม่ควรให้ทางOral ต้องให้ทาง IV แบบ infusion (ให้เป็นหยดๆ เหมือนให้นํ้าเกลือ)
Distal nephron diuretics