Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สุนทรียะและโวหารภาพพจน์ - Coggle Diagram
สุนทรียะและโวหารภาพพจน์
สุนทรียะ
ความนิยมในความงามของผู้ประพันธ์
มีทั้งหมด4รส
เสาวรจนี
การเล่าความงามของตัวละครในเรื่อง
บทชมโฉม
ชมความงามของสิ่งต่างๆ เช่น บ้านเมือง
นารีปราโมทย์
บทเกี้ยว โอ้โลม
แสดงความรักทั้งที่เป็นการพบกันแรกๆ
ใช้ในการโอ้โลมปฎิโลมก่อนถึงบทปฎิสังวาสด้วย
พิโรธวาทัง
บทโกรธ ตัดพ้อ
แสดงอารมณ์ไม่พอใจตั้งแต่น้อยไปมาก
โกรธ ตัดพ้อต่อว่า ประชดประชัน เสียดสี ฯลฯ
สัลลาปังคพิสัย
บทโศก
แสดงความโศกเสร้า อาลัยรัก
โวหารภาพพจน์
การใช้ถ้อยคำที่จะเข้าใจความหมายได้ด้วยการตีความ
ทำให้ผู้อ่านเกิดภาพในใจ
อุปมา
การเปรียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับอีกสิ่งหนึ่ง
ใช้คำเชื่อมที่แปลว่าเหมือนกัน
เช่น ดุจ ดั่ง ราง เปรียบ ประดุจ ฯลฯ
อุปลักษณ์
การเปรียบเทียบโดยเปรียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง
ใช้คำเปรียบเทียบ เช่น ว่า เป็น เท่า
บุคลาธิษฐาน
สมมติให้สิ่งไม่มีชีวิตแสดงกิริยาท่าทางเหมือนมนุษย์
อติพจน์/อธิพจน์
การกล่าวเกินจริง
นิยมใช้กันมากในภาษาพูด เปรียบเทียบให้ได้ภาพ
อวพจน์
การกล่าวน้อยเกินจริง
นิยมใช้กันมากในภาษาพูด เปรียบเทียบให้ภาพและความรู้สึก
ปฎิภาคพจน์
การใช้ถ้อยคำที่มีความหมายตรงกันข้ามมากล่าวอย่างกลมกลืน
สัทพจน์
การเลียนเสียงต่างๆ
เสียงธรรมชาติ เสียงสัตว์ ลักษณะอาการต่างๆ
สัญลักษณ์
การเปรียบเทียบสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยใช้คำอื่นแทน
เป็นที่เข้าใจกันทั่วไป
นามนัย
การใช้คำ/วลีบ่งบอกลักษณะหรือคุณสมบัติที่เป็นจุดเด่น
ใช้เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้คำธรรมดาซ้ำซาก
ปฏิปุจฉา
คำถามที่ไม่ต้องการคำตอบ
ใช้เพื่อเรียกร้องความสนใจหรือกระตุ้น