Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีพหุปัญญา, เลขที่ 6 นางวรรณภา สังข์ทอง - Coggle Diagram
ทฤษฎีพหุปัญญา
การประยุกต์ใช้ทฤษฎี ในการเรียนการสอน
1.ในการจัดการเรียนการสอนควรมีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายที่สามารถส่งเสริม
เชาวน์ปัญญาหลายๆด้าน
2.จะต้องจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการในแต่ละด้านของผู้เรียน
3.การสอนควรเน้นการส่งเสริมความเป็นเอกลักษณ์ของผู้เรียน รวมทั้งเห็นคุณค่าและเรียนรู้ที่จะใช้ความแตกต่าง ของแต่ละบุคคลให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม
4.วิธีการประเมินที่ดี ควรมีการประเมินหลายๆด้าน
ผู้บุกเบิกทฤษฎี คือ การ์ดเนอร์ (Gardner)
ความเชื่อพื้นฐานที่สำคัญมี 2 ประการ
1.เชาวน์ปัญญาของบุคคลมิได้มีเพียง ความสามารถทางภาษาและทางคณิตศาสตร์เท่านั้น แต่มีอยู่หลากหลายถึง 8 ประการ
2.เชาวน์ปัญญาของแต่ละบุคคลจะไม่อยู่คงที่
อยู่ที่ระดับที่ตนมีตอนเกิด แต่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ หากได้รับการส่งเสริมที่เหมาะสม
เชาวน์ปัญญาของบุคคลประกอบด้วย ความสามารถ 3 ประการ
1.ความสามารถในการแก้ปัญหา ในสภาพการณ์ต่างๆที่เป็นไปตามธรรมชาติ และตามบริบททางวัฒนธรรมของบุคคลนั้น
2.ความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานที่มี
ประสิทธิภาพและสัมพันธ์กับบริบท ทางวัฒนธรรม
3.ความสามารถในการแสวงหาหรือตั้งปัญหา
เพื่อหาคำตอบและเพิ่มพูนความรู้
เชาวน์ปัญญา 8 ด้าน
1.เชาวน์ปัญญาด้านภาษา
2.เชาวน์ปัญญาด้านคณิตศาสตร์หรือ
การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ
3.สติปัญญาด้านมิติสัมพันธ์
4.เชาวน์ปัญญาด้านดนตรี
5.เชาวน์ปัญญาด้านการเคลื่อนไหวร่างกายและกล้ามเนื้ิอ
6.เชาวน์ปัญญาด้านการสัมพันธ์กับผู้อื่น
7.เชาวน์ปัญญาด้านการเข้าใจตนเอง
8.เชาวน์ปัญญาด้านความเข้าใจธรรมชาติ
เลขที่ 6 นางวรรณภา สังข์ทอง