Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วย 3 การสร้างเสริมสุขภาพ - Coggle Diagram
หน่วย 3 การสร้างเสริมสุขภาพ
บทที่ 1 ดูแลสุขภาพ
1.สุขบัญญัติแห่งชาติ
1.ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
2.รักษาฟันให้แข็งแรง และแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง
3.ล้างมือให้สะอาดก่อนกินอาหารและหลังการขับถ่าย
4.กินอาหารสุกสะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสจัด สีฉูดฉาด
5.งดบุหรี่ สุรา สารเสพติด การพนันและการสำส่อนทางเพศ
6.สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้อบอุ่น
7.ป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท
8.ออกกำลังกายสม่ำเสมอ และตรวจสุขภาพประจำปี
9.ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ
10.มีจิตสำนึกต่อส่วนรวม ร่วมสร้างสรรค์สังคม
2.ข่าวสารเพื่อสุขภาพ
1.สถานบริการสุขภาพ
โรงพยาบาล
สถานีอนามัย
ศูนย์บริการสาธารณสุข
สาธารณสุขจังหวัด
2.อินเทอร์เน็ต
www.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข
www.fda.moph.go.th สนง.คกก.อาหารและยา (อย.)
www.ocph.go.th สนง.คกก.คุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.)
www.thaihealth.or.th สนง.กองทุนการส่งเสริมสุขภาพ
3.สายด่วนสุขภาพ
1556 สายด่วน อย.
1166 สนง.คกก.คุ้มครองผู้บริโภค
1675 สายด่วนกรมอนามัย
1156 ส่วนด่วนผู้บริโภค
1506 สายด่วนประกันสังคม
1667 ฮอตไลน์ กรมสุขภาพจิต
02-275-6933-5 สายด่วนวัยรุ่น
บทที่ 2 อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
1.หลักในการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
1.หลักในการเลือกซื้ออาหาร
ประโยชน์
ปลอดภัย
ประหยัด
2.การเลือกซื้อน้ำดื่มบรรจุขวด
3.ยา
4.วัตถุอันตราย
5.เครื่องสำอาง
1.เครื่องสำอางทั่วไป
2.เครื่องสำอางควบคุม
3.เครื่องสำอางควบคุมพิเศษ
หลักในการเลือกซื้อเครื่องสำอาง
1.ยาสีฟัน
2.น้ำยาบ้วนปาก
3.ผลิตภัณฑ์ระงับกลิ่นกาย
4.แชมพู
2.สื่อโฆษณากับการตัดสินใจเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์
1.ปัญหาที่เกิดจากการโฆษณา
1.นำเสนอความจริงเพียงบางส่วน
2.โฆษณาใช้เทคโนโลยีสื่อให้ผู้บริโภครับรู้ถึงสรรพคุณเกินจริง
3.อ้างถึงแหล่งที่น่าเชื่อถือหรือสถานที่มีชื่อเสียงรับรอง
4.อ้างสรรพคุณเกินกว่าชนิดของอาหารและผลิตภัณฑ์
2.หลักการพิจารณาโฆษณาก่อนเลือกซื้อ
พิจารณาว่า ข้อความที่ปรากฎในโฆษณาเกินความจริงหรือไม่
ศึกษาข้อมูลของสินค้าก่อนว่ามีข้อดีและข้อเสียอย่างไร
เลือกซื้อสินค้าตามความเป็นจริง ไม่ควรเชื่อเพราะมีบุคคลที่มีชื่อเสียงใช้
เปรียบเทียบคุณสมบัติของสินค้าชนิดเดียวกัน ก่อนตัดสินใจซื้อ
บทที่ 3 โรคควรรู้
1.โรคไข้หวัดใหญ่
อาการ
มีไข้สูง หนาวสั่น น้ำมูกไหล ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว
การติดต่อ
สูดลมหายใจเอาเชื้อโรคที่ผู้ป่วยไอหรือจามออกมา
การป้องกัน
รักษาสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอ, ทำให้ร่างกายอบอุ่นเพียงพอ, ไม่คลุกคลีกับผู้ป่วยที่เป็นไข้หวัด
2.โรคไข้เลือดออก
การติดต่อ
ยุงลายเป็นพาหะนำเชื้อโรคจากผู้ป่วย
อาการ
มีไข้สูงและไข้จะลดลงอย่างรวดเร็ว มือเท้าเย็น ตัวซีด หายใจหอบ
การป้องกัน
กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย, นอนกางมุ้งหรือห้องที่มีมุ้งลวด
3.โรคผิวหนัง
1.โรคภูมิแพ้ผิวหนัง
อาการ
มักมีผิวแห้งและคัน มีผื่นผิวหนังอักเสบในแต่ละบริเวณของร่างกาย
การรักษา
ยังไม่มีวิธีรักษาให้หายขาดได้
การป้องกัน
สังเกตว่าตนเองแพ้อะไร, ใช้สบู่ที่ไม่ระคายเคืองผิว, หลังอาบน้ำควรทาโลชั่น, หลีกเลี่ยงใช้เสื้อผ้าที่ทำให้เกิดอาการ
2.โรคผดผื่นคัน
อาการ
มีตุ่มแดงเล็กๆ อาจมีตุ่มน้ำเล็กๆ ขึ้นเป็นปื้น มีอาการคัน
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงอากาศร้อนจัด, ใช้เสื้อผ้าที่เหมาะสมกับฤดูกาล
3.โรคเกลื้อน
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อราที่อาศัยอยู่ในรูขุมขน
อาการ
พบเป็นวงเล็กๆ รอบๆ รูขุมขนจนถึงรวมกันเป็นปื้นใหญ่ มีขุย
การรักษา
รักษาความสะอาดของร่างกาย, ตัดเล็บมือ เล็บเท้าให้สั่น, ใช้ยาทาวันละ 2-3 ครั้งจนกว่าผื่นจะหาย
การป้องกัน
รักษาความสะอาดของร่างกาย, เช็ดตัวให้แห้งเพื่อป้องหันการอับชื้น
4.โรคฟันผุ
อาการ
มีการเปลี่ยนแปลงที่ผิวฟัน เห็นเป็นจุดหรือฝ้าขาวขุ่น ต่อมาเห็นรูผุที่ผิวฟัน
การรักษาโรคฟันผุ
ใช้ฟลูออไรด์เฉพาะที่, รักษารากฟัน, ถอนฟัน
การป้องกัน
กินอาหารที่มีประโยชน์, ดูและรักษาความสะอาดช่องปาก, ตรวจสุขภาพช่องปากด้วยตนเองเป็นประจำ, พบทันตแพทย์เพื่อตรวจฟัน
5.โรคปริทันต์
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อจุลินทรีย์ในคราบจุลินทรีย์ที่เกาะบริเวณคอฟันปล่อยสารพิษทำลายเหงือกและอวัยวะปริทันต์อย่างช้าๆ
อาการ
เหงือกมีอาการอักเสบ เหงือกสีแดงจัด มีเลือดออกง่าย
การป้องกัน
แปรงฟัน, การใช้สีย้อมคราบจุลินทรีย์, ใช้อุปกรณ์ช่วยทำความสะอาดซอกฟัน