Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1.เรื่องข้อมูลมีคุณค่า, นางสาว นวลละออ รัสษี เลขที่ 19 - Coggle…
บทที่1.เรื่องข้อมูลมีคุณค่า
https://youtu.be/35uWRBFhiJI
ข้อมูลคืออะไร
ข้อมูล คือ พลังงานที่กำลังหมุนโลก
ยุคของสารสนเทศ ยุคเอกสาร ยุคดิจิทัล
ยุคดิจิทัล 1. สื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต 2. ข้อมูลเป๋นปัจจุบัน ทันสมัย 3.ใช้พท้นที่น้อย 4.เข้าถึงได้ทุกที่ ทุกเวลา
ยุคเอกสาร 1.ไม่สะดวก ชำรุดง่าย 2. ข้อมูลสูญหายง่าย 3. ใช้พื้นที่ในการจัดเก็บจำนวนมาก 4. ข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน
ยุคของข้อมูลและสารสนเทศ
https://youtu.be/ZzfiUiNLHGk
วิทยาการข้อมูล
ศึกษาถึงกระบวนการ วิธีการ หรือเทคนิค ในการนำข้อมูลจำนวนมหาศาล 1.ได้องค์ความรู้ 2. ทำนายหรือ พยากรณ์ 3.ค้นหารูปแบบหรือแนวโน้ม 4. นำมาวิเคราะห์ต่อยอด 4. ใช้ในการตัดสินใจ
คือ ศาสตร์ที่เกี่ยวกับการจัดการ จัดเก็บ รวบรวม ตรวจสอบ วิเคราะห์ วิจัย และนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำไปสู่ความรู้ที่สามารถนำไปใช้งานได้จริง
(Actionable knowledge) อย่างเช่น การปรับปรุงผลิตภัณฑ์ กระบวนการดำเนินงาน ประกอบการตัดสินใจทางธุรกิจ การวางแผนการตลาด และทิศทางขององค์กรในอนาคต
แผนที่บนมือถือ 2. ประวัติทางการแพทย์ 3. ช็อปปิ้งออนไลน์ 4. ฟังเพลงออนไลน์
ชีวิตยุคดิจิตอล คือ ชีวิตยุค Big Data วันหนึ่งๆเราต้องเจอข้อมูลและต้องเกี่ยวข้องกับมันแบบทั้งรู้ตัวและไม่รู้ตัว แค่คุณฟังเพลงออนไลน์แบบ Streaming หรือ เปิดเข้าไปดู Map ผ่าน GPS แค่นี้ชีวิตคุณก็เกี่ยวข้องกับ Big Data แบบเต็มๆแล้ว นี่ยังไม่รวมถึงการส่งรูปหมาแมวอวดเพื่อนหรือถ่ายรูปคู่กับของกินอวดลงเฟซบุ๊คนะ เหล่านี้คือการยุ่งเกี่ยวกับข้อมูลทั้งสิ้น ด้วยเหตุนี้เองจึงอาจกล่าวได้ว่า Big Data ได้หลอมรวมเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันของคุณไปแล้วเรียบร้อย และยังเริ่มส่งผลต่อวิถีการดำเนินชีวิตของเราไปแล้วด้วยซ้ำ ไม่ว่าจะเป็นวิธีการทำงาน
การออกกำลังหรือแม้แต่การเลือกซื้อสินค้านี่แค่เป็นการเริ่มต้นเท่านั้น…เราจะพาคุณไปดู 7 สิ่งในชีวิตประจำวันที่ Big Data ได้เข้าไปมีผลกระทบและเปลี่ยนแปลงวิถีการดำเนินการของสิ่งนั้นๆไปแล้วเรียบร้อย
https://youtu.be/Eshi485Otbk
การคิดเชิงออกแบบสำหรับวิทยาการข้อมูล
การคิดเชิงออกแบบ เป็นกระบวนการคิดเพื่อแก้ไขปัญหา และพัฒนาแนวคิดใหม่ๆ โดยมุ่งเน้นไปที่มุมมองของผู้ใช้ และสร้างผลลัพธ์ในอนาคตที่เป็นรูปธรรม เพื่อให้ได้แนวทางหรือนวัตกรรมที่ตอบโจทย์กับผู้ใช้ และสถานการณ์ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอขั้นตอนของกระบวนการคิดเชิงออกแบบ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้
การค้นหา (Discovery)
การตีความ (Interpretation)
การระดมความคิด เพื่อการแก้ไขปัญหา (Ideation)
สร้างต้นแบบ และทดลอง (Experimentation)
การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน (Evolution) ได้มีการนำการคิดเชิงออกแบบไปใช้เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ
ฝึกกระบวนการแก้ไขปัญหาตลอดจนหาทางออกที่เป็นลำดับขั้นตอน
มีทางเลือกที่หลากหลาย
มีตัวเลือกที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด
ฝึกความคิดสร้างสรรค์ :
เกิดกระบวนการใหม่ตลอดจนนวัตกรรมใหม่
มีแผนสำรองในการแก้ปัญหา :
องค์กรมีการทำงานอย่างเป็นระบบ
https://youtu.be/fB4osl1IWKY
กระบวนการวิทยาการข้อมูล (data science process)
การเพิ่มข้อมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์หรือให้บริการด้วยข้อมูลนั้น บริการแล้วมูลนั้น นอกจากจะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกัผลิตภัณฑ์หรือบริการแล้ว ยังต้องเข้าใจกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวกับการจัดหาและประมวลผลข้อมูลอีกด้วย เนื่องจากกิจกรรมที่ต้องทำค่อนข้างหลากหลาย เพื่อไม่ให้สับสนหรือพลาดประเด็นใดไป สามารถดำเนินตามกระบวนการของ วิทยาการข้อมูลขั้นตอนสำคัญต่างๆที่ประกอบด้วย การตั้งคำถาม การเก็บข้อมูล การสำรวจข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสื่อสารและการทำผลลัพธ์ให้เป็นภาพสู่ผู้ใช้กลุ่มเป้าหมาย
ขั้นตอนกระบวนการวิทยาการข้อมูล
ขั้นที่ 1 การตั้งคำถาม (ask an interesting question)ขั้นที่
2 การรวบรวมข้อมูล (get the data)
ขั้นที่ 3 การสำรวจข้อมูล (explore the data)
ขั้นที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล (annalyze the data)
ขั้นที่ 5 การสื่อสารและการทำผลลัพธ์ให้เป็นภาพ (communicate and visualize the results)
นางสาว นวลละออ รัสษี เลขที่ 19