Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารการเงินบัญชีและพัสดุกลุ่มที่ 2, นายศุภชัย สาพิมพา 034 - Coggle…
การบริหารการเงินบัญชีและพัสดุกลุ่มที่ 2
บริหารการเงิน
ความหมาย
งาน ที่เกี่ยวกับการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนําเงินส่ง และการตรวจสอบ
งานที่เกี่ยวกับการเงิน
การรับเงิน ให้รับเป็นเงินสด รับเป็นเช็ค ดราฟ ตามระเบียบ ให้ออกใบเสร็จทุกครั้ง และเป็นใบเสร็จตามที่กระทรวงกำหนด
การเก็บรักษาเงิน ให้เก็บไว้ที่ตู้นิรภัยแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ 3 คน
การชำระเงิน จ่ายได้เฉพาะ ที่กฎหมาย หรือระเบียบ กำหนด ให้ผอ.อนุมัติจ่าย
การนำส่งเงินคืนคลัง
การยืมเงิน ทำสัญญายืมตามที่กระทรวงกำหนด จะยืมอันใหม่ ต้องชำระอันเก่าก่อน ต้องส่งคืนตามกำหนด อย่างช้า 30 วัน หลังจากเลยกำหนด
การบริหารบัญชี
ความหมาย บัญชี หมายถึง การบันทึกรายการ เงิน ทั้งในด้านรายรับ รายจ่าย ตลอดจนการโอนบัญชี การแยก ประเภท การสรุปผล และแปลความหมายของข้อมูลดังกล่าว ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสําคัญยิ่งส่วนหนึ่งในการ บริหารการเงินขององค์กร
งาน
การจัดทํารายงานการเงินและงบการเงิน
การจัดทําและจัดหาแบบพิมพ์บัญชี ทะเบียนและรายงาน
การจัดทําบัญชีการเงิน
การบริหารจัดการพัสดุ
ของใช้ทั้งปวงของทางราชการที่จําเป็น ต้องมีไว้ เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีการประสิทธิภาพและบรรลุ วัตถุประสงค์ที่วางไว้
มี 3 ด้านคือ
ด้านทรัพยากร
มีการวางแผนในการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ไม่ฟุ่มเฟือยทั้งเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ
ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มติครม.ฯ
ตรวจรับสิ่งของตามที่ได้มีการส่งมอบอย่างถูกต้องและครบถ้วน ตามเงื่อนไขที่กําหนด เช่น ระยะเวลาของการส่ง มอบ จํานวน/ปริมาณของสินค้า ตรงตามสเปค
ด้านพัสดุ
การวางแผน / กําหนดโครงการ
• กำหนดความต้องการ
• จัดทําคําของบประมาณ / ขอตั้งงบประมาณ
• วางแผนการจัดหาพัสดุ
• ดําเนินการจัดหาตามวิธีการพัสดุ
• แจกจ่ายพัสดุ
• ควบคุม / บํารุงรักษา
• หมดความต้องการ จําหน่ายออก จากทะเบียน และ ดําเนินการตามระเบียบพัสดุ
ด้านบุคลากร
จัดบุคลากรให้เหมาะสมกับงานกับหน้าที่ที่มีความเหมาะสม
ปฏิบัติงานได้ตามความรู้ความสามารถ มีความชํานาญงาน ยึด กฎ ระเบียบ ข้อบังคับฯ
ผลงานมีประสิทธิภาพ มีประสิทธิผล
มีความซื่อสัตย์เป็นธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้ ไม่เอื้อหรือรับผลประโยชน์จากผู้รับจ้าง
ความสำคัญของการบริหารจัดการพัสดุ ส่งผลถึงความสัมฤทธิ์ผลของ แผนงานโครงการ และในทางกลับกัน แผนงาน โครงการต่าง ๆ จะ ดำเนินการไปไม่ได้เลย หากไม่มีพัสดุหรือไม่ได้รับพัสดุที่มีคุณภาพ
หลักกฎหมายทั่วไปทางงบประมาณ
หลักการ
1.หลักความยินยอมหรืออํานาจในการอนุมัติงบประมาณ (Authoritativeness)
หลักระยะเวลาหนึ่งปีของงบประมาณ (Annual Basis)
หลักรายได้ต้องมีลักษณะทั่วไป (Universality)
หลักความเป็นเอกภาพของงบประมาณ (Unity)
หลักรายจ่ายต้องมีลักษณะเฉพาะเจาะจง (Specificity)
พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
มาตรา 4 งบประมาณรายจ่าย คือ จำนวนเงินอย่างสูงที่อนุญาตให้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพันได้ตามวัตถุประสงค์ และภายในระยะเวลาที่กำหนด”
มาตรา 18 หลักห้ามมิให้ทำการโอนงบประมาณของหน่วยรับงบประมาณ
หนึ่งที่ได้รับอนุมัติไว้แล้ว ไปให้เป็นงบประมาณของหน่วย รับงบประมาณอื่น
มาตรา 23 วรรคหนึ่ง ยกเว้นกรณีที่บัญญัติไว้ในมาตรา 23 ตรี ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจจะจ่ายเงินหรือ ก่อหนี้ผูกพันได้แต่เฉพาะตามที่ได้กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม หรือตามอำนาจที่มีอยู่ตามกฎหมายอื่น และห้ามมิให้จ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จนกว่าจะได้รับอนุมัติเงินประจำงวดแล้ว (ลงนามในสัญญา ก่อนได้งวดไม่ได้)”
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
การใช้จ่ายเงินแผ่นดินต้องทําในรูปพระราชบัญญัติ
กําหนดให้ใช้กฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่ายในปีงบประมาณปีก่อนนั้นไปพลางก่อน
กําหนดสาระสําคัญในการเสนอร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปี
กําหนดให้มีกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ
กําหนดหลักเกณฑ์ในการเสนอ การพิจารณา กรอบระยะเวลาในการตราพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปี กําหนดให้มีการจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ
กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการแปรญัตติ
7 การตั้งงบประมาณรายจ่ายชดใช้เงินคงคลัง
8 การมีส่วนได้เสียในการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่าย
9 ความรับผิดชอบและโทษที่จะได้รับ
ร่างพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ
สาระสำคัญ ประกอบด้วย 8 หมวด 52 มาตรา และบทเฉพาะกาล (มาตรา 53 – มาตรา 59) เพื่อรองรับการปฏิรูประบบงบประมาณและการจัดทำงบประมาณที่มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน
• ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
• งบประมาณรายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ
• การดำเนินการขอรับจัดสรรงบประมาณของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ หมวด 1ข้อ 11 ข้อ 13
• การจัดสรรงบประมาณงบประมาณ หมวด 2 ข้อ 14 ข้อ 20
• ใช้จ่ายงบประมาณของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ หมวด 3 ข้อ 21 ของ 22
• การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ หมวด4 ข้อ 23 ข้อ 24
• การรายงานผล ลักษณะ 4 ข้อ 32 ข้อ 35
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
ราคากลาง” หมายความว่า ราคาที่ใช้เป็นฐานสำหรับเปรียบเทียบราคาที่ผู้ยื่นข้อเสนอได้ยื่นเสนอไว้ ซึ่งสามารถจัดซื้อจัดจ้างได้จริง
งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง” หมายความว่า งานจ้างจากบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล เพื่อออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง
“การบริหารพัสดุ” หมายความว่า การเก็บ การบันทึก การเบิกจ่าย การยืม การตรวจสอบ การบํารุง รักษา และการจำหน่ายพัสดุ
หลักการพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอการจัดซื้อจัดจ้าง
ต้นทุนตลอดการใช้งาน
มาตรฐานของสินค้าหรือบริการ
บริการหลังการขาย
พัสดุที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุนที่อนุรักษ์พลังงานหรือสิ่งแวดล้อม
การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ
ข้อเสนอด้านเทคนิคหรือข้อเสนออื่น
เกณฑ์อื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
การทำสัญญา (มาตรา 93-99
หน่วยงานอาจมีข้อตกลงเป็นหนังสือ โดยไม่ทำตามแบบสัญญา เฉพาะในกรณี ดังต่อไปนี้
การจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีคัดเลือก หรือโดยวิธีเฉพาะเจาะจง หรือการจ้างที่
ปรึกษาโดยวิธีเฉพาะเจาะจง
การจัดซื้อจัดจ้างจากหน่วยงานภาครัฐ
คู่สัญญาสามารถส่งมอบพัสดุได้ครบถ้วน ภายใน 5 วันทำการ นับแต่วันถัด
จากวันทำข้อตกลง
กรณีอื่นตามที่คณะกรรมการนโยบายกำหนด
สัญญาที่มีการลงนามและแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาหรือข้อตกลง ต้องเผยแพร่ใน
ระบบของกรมบัญชีกลาง และของหน่วยงาน
บทกำหนดโทษ (มาตรา 120-121)
กำหนดโทษสำหรับผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการวินิจฉัยหรือหลักฐาน ประกอบการพิจารณาอุทธรณ์ เพื่อเป็นการบังคับให้ผู้ที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือในการส่งเอกสารหรือ หลักฐานประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการวินิจฉัยหรือคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ โดยกำหนดให้มี ความผิดฐานขัดคำสั่งเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
นายศุภชัย สาพิมพา 034