Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
upper gasrrointestinal bleeding(UGIB) - Coggle Diagram
upper gasrrointestinal bleeding(UGIB)
สาเหตุ
โรคทางเดินอาหารส่วนบน
โรคกระเพาะและโรคลำไส้อักเสบจากแผลเปปติก (peptic ulcer)สาเหตุหลักของ peptic ulcer คือ Helicobacter pylori infection และการรับประทานยาแก้ปวดในกลุ่ม nonsteroid anti-inflammatory drug(NSAIDs) รวมทั้ง aspirin
แผลที่เกิดจากความเครียด
แผลจากการดื่มสุรา หลอดเลือดโป่งพองที่หลอดอาหาร
โรคที่อวัยวะข้างเคียง เช่น โรคทางเดินน้ำ ทำให้เกิดเลือดออกในทางเดิน (hemobilia)
โรคทางร่างกายทั่วไป เช่น การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
4.การตกเลือดในระบบทางเดินอาหารส่วนบนที่สัมพันธ์กับภาวะ Poetai hypertension
Mallory-Weiss tea
Grastric erosion
Dieulafoy's lesion
Tumors
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลีย คลื่นไส้ ปวดท้องในระยะแรก มีความรู้สึกอยากถ่ายอุจจาระ
อาจมีอาเจียนเป็นเลือดสดหรือเลือดเก่า และถ่ายอุจจาระ และมีอาการปวดศีรษะ กระหายน้ำ เหงื่อออก ใจสั่น กระวนกระวาย ความดันโลหิต ชีพจรเบาเร็ว
อาการอื่นๆ เช่น มีไข้ อาจเกิดภายใน 24 ชั่วโมง ในผู้สูงอายุอาจเกิด myocardial infarction
การวินิจฉัย
ซักประวัติถึงโรคหรืออาการต่างๆ ประวัติการใช้ยาแก้ปวด nonsteroid anti-inflammatory drug(NSAIDs) รวมทั้ง aspirin
การตรวจร่างกาย ควรให้ความสำคัญกับอาการแสดงของภาวะ hypovolemia ได้แก่ ความดัน โลหิต ชีพจรเร็ว และ orthostatic hypotension การตรวจหาอาการแสดงของ chronic liver disease เช่น spider novi, angiomata, palmar erythema การตรวจหน้าท้อง ควรตรวจหา surgical scar, point of tenderess และการตรวจหาก้อนในท้อง
การใส่สายสวนล้างกระเพาะ เพื่อดูลักษณะของ gastric content สามารถบอกความรุนแรงของภาวะเลือดออกได้ และเพื่อทํากระเพาะอาหารให้ว่าง เตรียมพร้อมสําหร้บการส่องกล้องทางเดินอาหาร
การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สำคัญคือ hematocrit(HCT), hemoglobin Hib), blood urea nitrogen (BUN) และ creatinine Cr) ในเลือด ช่วยประเมินการสูญเสียเลือด การตรวจ prothrombin time(PT), partial thromboplastin(PTT), International normalized ratio (INR) เพื่อดูความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด liver function test LFT) เพื่อดูความผิดปกติของตับ ช่วยบอกภาวะตับแข็ง stool occult blood จะพบเม็ดเลือดแดง ในอุจจาระ
การตรวจวินิจฉัยเพื่อหาตำแหน่งของจุดเลือดออก ได้แก่ การส่องกล้องทางเดินอาหารส่วนบน (esophagogastroduodenoscopy)
การรักษา
การรักษาหรือแก้ไขภาวะช็อกโดยให้เลือดหรือส่วนประกอบของเลือด และสาร ทางหลอดเลือด เพื่อเพิ่มปริมาณเลือดที่ลดลงแก้ไขภาวะขาดสารน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย
การให้ยา ได้แก่ ยาลดการหลั่งกรด เช่น กลุ่ม H2 receptor antagonist (H2 RA) กลุ่ม Proton Pump Inhibitors(PPI) ยา Splanchnic vasoconstrictors ใช้เพื่อลด portal venous flow ยาระงับประสาท ยาประเภท
Anticholinergic
การผ่าตัดในกรณีฉุกเฉิน เลือดออกไม่หยุด 4. อาหารควรหลีกเลี่ยงอาหารรสจัด กาแฟ น้ำอัดลม ยาแก้ปวด nonsteroid anti-inflammatory drug
(NSAIDs) และยาประเภทสเตียรอยด์
การพักผ่อน ควรพักผ่อนทั้งด้านร่างกายและจิตใจ จะทำให้ผู้ป่วยหายป่วยเร็วขึ้น
Bipolar electroagulation
Heater probe
Injection therapy
Esophageal variceal band ligation
ภาวะแทรกซ้อน
โลหิตจาง
ไตวาย
ภาวะช็อกจากเลือดออกมาก