Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case twin B เพศหญิง G1P0 GA26+1 คลอด C/S BW 599gm. Dx.Preterm extermely…
Case twin B เพศหญิง G1P0 GA26+1 คลอด C/S BW 599gm. Dx.Preterm extermely LBW c RDS c IVH c PDA c PIE
ประวัติมารดา
มารดา อายุ 19ปี G1P0 ฝากครรภ์คุณภาพที่คลินิกฝากครรภ์ 9 ครั้ง, Lab VDRL : non reactive , Anti-HIV : neg , DCIP : negative,
OF : negative, Blood Gr.A Rh+
ประวัติการคลอด
Case ทารกเพศหญิง preterm VLBW G1P0 GA 26+1 wks. by u/s C/S due to Preterm twin MCDA วันที่ 29/11/64 เวลา 14.02น. BW 599gm. Apgar 7-9-9 ยาว 30ซม. รอบศรีษะ 22ซม. รอบอก 17ซม. แรกคลอด HR<100bpm skin mild blue กระตุ้น PPV 2cycle suction ได้น้ำคร่ำ 3ccใส HR 154bpm หลังจากนั้น obs มี mild retraction ให้ PPV ต่อและย้าย NICU
ประวัติการตั้งครรภ์
23/11/64 ที่อายุครรภ์ 25+5 สัปดาห์ ตรวจครรภ์ที่คลินิก พบ 50 GST 191 mg/dl สูงผิดปกติ และ Twin B มี Reversed flow มีโอกาสเสียชีวิตในครรภ์สูง แพทย์ที่คลินิกแนะนำให้ไปรักษาต่อที่รพ.จุฬาลงกรณ์ แต่เตียง NICU ที่รพ.จุฬาลงกรณ์เต็ม และมารดาสิทธิการรักษาอยู่ที่จ.ระยอง มารดาจึงกลับมา admit ที่รพ.ระยอง เริ่มมีเจ็บครรภ์ วันที่ 26/11/64 inhibit ด้วย Adalat, Bricanyl และได้ยา Dexamethasone 6 mg IM × 4 dose แพทย์ Set C/S due to Preterm c Twin (MCDA) วันที่ 29/11/64
Preterm
ทารกที่คลอดก่อนอายุครรภ์ < 37wks. หรือน้อยกว่า 259วัน โดยไม่คำนึงถึงน้ำหนักตัวทารก
Extermely LBW BW < 1000gm. GA 24-30 wks.
GA 26+1 wks. by u/s C/S due to Preterm twin MCDA วันที่ 29/11/64 เวลา 14.02น. BW 599gm.
ลักษณะของทารก
ศรีษะขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับลำตัว HC =20cm. CC= 17Cm.
ผิวหนังบาง ไขมันใต้ผิวน้อย มองเห็นเส้นเลือดฝอย มีขนอ่อนมาก ใบหูอ่อนนุ่ม พับงอได้ ไม่มีเส้นลายฝ่าเท้า
สูญเสียความร้อนได้ง่าย
มีโอกาสเกิดภาวะ Hypothermia และ Hyperthermia เนื่องจากทารกมีไขมันใต้ผิวหนังน้อย
กิจกรรมการพยาบาล
2.ระวัดระวังการสูญเสียความร้อนจากผิวกาย ดังนี้
4 more items...
1.ประเมินอาการของ Hypothermia และ Hyperthermia ดังนี้
2 more items...
record vital signs โดยเฉพาะ temperature เพื่อติดตามอาการ
ดูแลจัดเตรียมที่นอน ปูด้วยผ้าอ้อมที่อุ่น และให้นอนภายใต้ incubartor โดยติด skin probe ไว้ที่หน้าท้อง เพื่อให้ทารกอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมมีการใช้ออกซิเจนและการเผาผลาญพลังงานน้อย
ข้อมูลสนับสนุน
O : Female Preterm GA 26+1 wks BW 599 gm. ลักษณะผิวบางสามารถมองเห็นเส้นเลือดได้ on incubator ใช้การปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ skin servo-control mode, set T = 36.8 °C
ประเมินผล
: 14/12/64 ทารก active ดีพอควร on incubator skin mode, set T = 36.8 °C ทารกไม่มีอาการ มือเท้าเขียว ซึม ผิวหนังซีด หรือผิวหนังแดงและร้อน Temp stable ดี T=36.9-37.0 * P=160-172 bpm. O2sat= 99%
กล้ามเนื้อน้อย ท่าทางแขนขาเหยียดออก
หัวนมแบนราบ อวัยวะเพศเห็น labia minora และ critolis ชัดเจน
อวัยวะภายในร่างกายเจริญเติบโตไม่สมบูณ์
ภูมิคุ้มกัน
ตับทำงานไม่สมบูรณ์
glycogen สะสมในตับน้อย
gluconeogenesis ได้น้อย
neonatal hypoglycemia
การรักษา
ให้ 10%DW 1.2ml IV push then 12.5%DW 1.2ml/hr
ให้10% D/W 2 มล/กก ทางหลอดเลือดดำช้าๆ มากกว่า 1 นาทีตามด้วยกลูโคสทางหลอดเลือดดำในอัตรา 6-8 มก/กก/นาที3-4 ตามอัตรา endogenous glucose production (AAP1แนะนำในอัตรา5-8 มก/กก/นาที) เป้าหมายเพื่อให้ระดับพลาสมากลูโคส>45 มก/ดล
มีโอกาสเกิดภาวะHypoglycemia เนื่องจากglycogen สะสมในตับน้อย
กิจกรรมการพยาบาล
6 more items...
ข้อมูลสนับสนุน
1 more item...
ประเมินผล
: ทารก On ETT c HFO mode ตื่นดิ้นบางช่วง Active ดี ไม่ซึม ไม่มีอาการ มือเท้าสั่น (jitteriness) On IV 20% DN/2 2.5 ml/hr (GIR13.9) ทาง UVC ไม่มีบวมแดง leak ติดตาม DTX วันถัดมา = 118mg%,
V/s T=36.9-37.0 * P=160-172 bpm. BP 77/44 (55) O2sat= 99%
ขับสารเหลืองได้ไม่ดี
Hyperbilirubinemia
การรักษา
การรักษาโดยการเปลี่ยนถ่ายเลือด ( Exchange Transfusion )
การใช้ยาในการรักษา
Phenobarbital ช่วยลดการขนส่งบิลิรูบินเข้าสู่เซลล์ตับ มีเมตาบอลิซึมของบิลิรูบินและการขับถ่ายออกทางนำดีมากยิ่งขึ้น
Agar,Charcoal ที่ช่วยยับยั้งการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้
การรักษาโดยการส่องไฟ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีภาวะตัวเหลืองเนื่องจากตับยังทำหน้าที่ขับบิลิรูบิน
ได้ไม่สมบูรณ์
ข้อมูลสนับสนุน
4 more items...
กิจกรรมการพยาบาล
9 more items...
ประเมินผล
: 14/12/64 ทารกได้รับการรักษาโดยการ on double photoทารก นอนปิดตา Active ดีพอควร ไม่ซึม ไม่มีผื้นขึ้น ผิวเปลี่ยนสี เป็นต้น ทารได้รับสารน้ำท้องอืดเล็กน้อย ได้รับสารน้ำ 20% DN/2 2.5 ml/hr อย่างเพียงพอตามแผนการักษา ถ่ายปัสสาวะสีเหลืองใส ถ่ายอุจจาระเป็นสีเหลือง 1ครั้ง ติดตามค่่า MB =9.8 mg/dl แพทย์ยังคงให้ on photo ต่อ เพิ่มเป็น triple photo
ภูมิคุ้มกันในร่างกายเจริญไม่สมบรณ์
เกิดการติดเชื้อในร่างกาย
ร่างกายเกิดการหลั่ง Endotoxin ทีทำอันตรายต่อเซลล์
หลั่งสาร mediators
ทำลายปัจจัยการแข็งตัวของเลือดและเกร็ดเลือด
DIC
1 more item...
Sepsis
มีภาวะติดเชื้อในร่างกายเนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันยังทำงานไม่สมบูรณ์
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลรักษาความสะอาดของผิวหนังและร่างกายทารก ได้แก่ เช็ดบริเวณสะดือที่ใส่สาย UVC ให้สะอาดด้วยเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ล้างมือให้สะอาดก่อนและหลังให้การพยาบาลทุกครั้ง เพื่อป้องกันการติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อ
ดูแลให้ทารกได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา เพื่อรักษาการติดเชื้อและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากยา ได้แก่ Meropenam 12mg iv q 8hr (20 mg/kg/dose) ทางUVC
ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพทุก 2 ชั่วโมงเพื่อติดตามอาการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลง ได้แก่ WBC, Neutrophil, lymphocyte, monocyte, Eosinophil, Basophil เป็นต้น
ดูแลอุปกรณ์เครื่องใช้ที่ใช้กับทารกให้สะอาดหรือผ่านการทำลายเชื้อโรค เพื่อป้องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายเชื้อ
บุคลากรที่ติดเชื้อทางเดินหายใจ/ทางเดินอาหารหรือทางผิวหนัง ควรงดให้การดูแลทารก เพื่อป้องกันการติดเชื้อไปสู่ทารก
ดูแลดูดเสมหะด้วยเทคนิคปราศจากเชื้อ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
แยกทารกไว้ในตู้อบ (incubator) รวมทั้งแยกของใช้ประจำด้วย เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไปสู่ทารกคนอื่น
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อในร่างกาย ได้แก่ Tachycardia, ควบคุมอุณหภูมิในร่างกายไม่ได้อาจมีไข้หรือตัวเย็น, หายใจเหนื่อย,Apnea, Feeding Intolerance, ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงอาจซึมหรือร้องกวน เป็นต้น
รักษาอุณหภูมิร่างกายทารกให้อยู่ในระดับปกติ และควบคุมอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการปรับอุณหภูมิกายของทารก ทารกที่อุณหภูมิร่างกายต่ำอาจจำเป็นต้องอยู่ในตู้อบ (incubator) และอุ่นอุปกรณ์ก่อนทำหัตถการ เพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อนจากทารก
ข้อมูลสนับสนุน
O: Preterm GA 26+1 wks.
O: CXR พบ Pneumonia 1/12/64
O: เสมหะสีขาวขุ่น 13/12/64
O: Sputume gram พบ Neumerous WBC
O: CBC พบ WBC 13500cell/ul NE 64% Ly 10% MO 26% PLT 116000cell/ul (14/12/64)
ประเมินผล
: ทารก Active ดีพอควร ไม่มีหายใจเหนื่อย แต่trywean setting ไม่ได้ มี O2sat swing 70-80% เวรละ 3ครั้ง ไม่มีตัวลาย NPO ไว้ยังมีท้องอืดเล็กน้อย เหลือ content เป็นตะกอนน้ำตาล บางครั้ง แพทย์ จึงไม่ step feed ทารกได้รับยาปฏิชีวนะครบตามแผนการรักษา ไม่มีผลข้างเคียงจากยา ร่างกายทารกสะอาดดี V/s T=36.9-37.0 * P=160-172 bpm. BP 77/44 (55) O2sat= 99%
ระบบหายใจ
เนื้อเยื่อปอดยังเจริญไม่สมบูรณ์ ขาดสาร surfactant
lung compliance ลดลง
Hypoxia
RDS
การรักษา
รักษาให้ High inspire O2 concentretion mechanical
3 more items...
ให้ survanta 2.6ml via tube แบ่งให้ 2 ข้าง
CXR 29/11/64 พบ air bronchograms
เพศหญิง G1P0 GA26+1 คลอด C/S BW 599gm
Hypercarbia
Acidosis
Pulmonary vasoconstrict
1 more item...
ระบบไหลเวียนโลหิต
การไหลเวียนเลือดไม่ดีและเส้นเลือดเปราะแตกง่าย
cerebral blood flow ลดลง
เกิด Reperfusion
กระตุ้น Matrix capillaries injury
IVH
มีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกในสมองเพิ่มมากขึ้น
3 more items...
เม็ดเลือดแดงมีอายุสั้น (35วัน) ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดที่มี adult hemoglobin ไม่ทัน
anemia
การรักษา
การให้เลือด
ทดแทน การให้เลือด
เพื่อทดแทน ให้ขนาด 10-15 cc/kg
ให้ LPRC 9ml IV drip in 4hr.
รักษาที่สาเหตุ
มีภาวะซีดเนื่องจากไขกระดูกยังทำงานไม่สมบูรณ์
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินภาวะซีด ตรวจร่างกายประเมิน ผิวซีด , capillary refill > 3 sec เพื่อประเมิน tissue perfusion
2.ประเมินภาวะเลือดออกเพิ่ม ในส่วนต่างๆของร่างกาย ปอด กระเพราะอาหาร จ้ำเลือดตามร่างกาย
3.การ suction ใช้ pressure 60 cmH2O
4.ดูแลให้ทารกได้รับ LPRC 9 ml v drip in 4 hr
5.ประเมินสัญญาณชีพก่อนให้ ถ้ามีความผิดปกติ เช่น ไข้ ตัวเย็น ชัก ความดันโลหิตต่ำ หยุดการให้เลือด รายงานแพทย์ทันที
ขณะให้เลือดวัดสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที x 4 ครั้ง ทุก 30 นาที x 2 ครั้ง และทุก 1 ชั่วโมง จนกว่าเลือดจะหมดภายใน 4 ชั่วโมง
สิ้นสุดการให้เลือด วัดสัญญาณชีพ หลังให้เลือดหมด และสังเกตอาการหลังให้เลือดจนครบ 24 ชม.
6.ติดตามผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการ CBC , HCT
O: Female Preterm GA 2ุ6+1 wks BW 599 gm.
O: CBC พบ RBC 3.26cell/ul, Hct 30.8%
ประเมินผล
: ทารก On ETT c HFO mode ตื่นดิ้นบางช่วง Active ดี ไม่ซึม ผล Hct = 30.8% (14 ธ.ค.64) แพทย์รับทราบ มี orerให้LPRC 9 ml v LPRC 9 ml v drip in 4 hr ไม่มีภาวะแทรกซ้อนขณะให้เลือด
V/s T=36.9-37.0 * P=160-172 bpm. BP 77/44 (55)
O2sat= 99%
ระบบทางเดินอาหาร
ดูดซึมสารอาหารได้ไม่ดี
มีโอกาสเกิดภาวะพร่องสารน้ำสารอาหารเนื่องจากระบบทางเดินอาหารและการดูดซึมพลังงานในร่างกายยังไม่สมบูรณ์
ข้อมูลสนับสนุน
O: Female Preterm GA 2ุ6+1 wks
O: แรกเกิด BW 599 gm.
O: DOL 14 BW 840gm.
O: NPO 9/12/64-ปัจจุบัน 14/12/64
O: content มีน้ำย่อยปนตะกอนน้ำตาล
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการและความสามารถในการดูดซึมสารอาหาร (Feedingintolerance) เช่น Bowel sound ลดลง Gastric content มิมาก มีตะกอน ท้องอืด สำรอกเพื่อรายงานให้แพทย์ทราบ และหาสาเหตต่อไป
ดูแลตำแหน่งของ OG tube ให้เหมาะสมป้องกันสายที่อยู่ตำแหน่งลึกหรือตื้นเกินไป
ดูแลให้ได้รับยาและสารน้ำทาง IV 20%DN/2 IV rate 2.5 ml/hr (TV100ml/kg/day) ตามแผนการรักษา
ชั่งน้ำหนักวันละครั้ง วันละครั้งด้วยเครื่องชั่งเดียวกัน
ควบคุมอุณหภูมิกายของทารกคลอดก่อนกำหนดให้เหมาะสม เพื่อป้องกันการสูญเสียพลังงานจากความร้อน
6.ป้องกันหรือหลีกเลี่ยงภาวะที่จะทำให้ทารกมีการใช้พลังงานในร่างกายมากกว่าปกติ เช่นกระตุ้นแล้วทารกร้องไห้
ประเมินผล
: 14/12/64 ทารกactive ดีพอควร on IV 20%DN/2 IV rate 2.5 ml/hr ทาง UVC flow ดี ได้รับสารเพียงพอต่อร่างกายไม่มีซึม NPO On OG tube ต่อลงbagไว้ มีcontent เป็นตะกอนบางครั้ง ท้องอืดเล็กน้อย แพทย์รับทราบให้ติดตามอาการเปลี่ยนแปลง
ขับถ่ายเวรละ 1ครั้ง สีเหลือง
ระบบขับถ่าย
การกรองและการดูดกลับของไตไม่ดี
มีภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโตรไลต์ในร่างกายเนื่องจากการทำงานของไตไม่สมบูรณ์
O: ทารกตัวบวม กดบุ๋ม (14/12/64)
O: น้ำหนักเพิ่มขึ้น 60 gm (14/12/64)
O: ผล Albumin 3.0 g/dL (14/12/64)
O: Electrolyte (14/12/64) Na=134 mmol/L, K=3.52 mmol/L, Cl=99 mmol/L,Ca= 8.6 mg/dl, Mg= 1.66 mg/dl
กิจกรรมการพยาบาล
1.สังเกตและประเมินภาวะไม่สมดุลของกรดด่างและอิเล็กโตรไลท์ ได้แก่ ซึม สั่น เกร็งกระตุก หัวใจเต้นผิดจังหวะ ชีพจรเบาเร็ว ปัสสาวะออกน้อย ริมฝีปากแห้ง
2.ดูแลให้สารน้ำและยาตามแผนการรักษาของแพทย์
20%DN/2 IV rate 2.5 ml/hr ทาง UVC
3.ประเมินสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง ติดตามอาการเปลี่ยนแปลงที่บ่งบอกถึงภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโตรไลท์ในร่างกาย
5.บันทึกสารน้ำเข้า-ออกในร่างกาย
6.ติดตามผล Lab Electrolyte ถ้าพบความผิดปกติให้รายงานแพทย์
ประเมินผล
: 14/12/64 ทารกactive ดีพอควร on IV 20%DN/2 IV rate 2.5 ml/hr ทาง UVC flow ดี ไม่มีซึม I/O balance I= 18ml O= 19ml
V/s T=36.9-37.0 * P=160-172 bpm. BP 77/44 (55) O2sat= 99%
มารดามีความวิตกกังวลเนื่องจากการเจ็บป่วยของบุตร
ข้อมูลสนับสนุน
O: มารดาโทรสอบถามอาการของบุตร และการรักษาทุกวัน
O: มารดามีน้ำเสียงกังวล
กิจกรรมการพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับบิดามารดาโดยารพูดคุยผ่านทางโทรศัพท์โดยใช้น้ำเสียงที่เป็นมิตร
2.ประเมินการรับรู้และระดับความวิตกกังวลของบิดามารดา
3.ให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะความเจ็บป่วยของบุตรโดยประสานงานให้พูดคุยกับกุมารแพทย์เจ้าของไข้
4.เมื่อมีการตรวจพิเศษหรือการใช้เครื่องมือพิเศษต่างๆควรแจ้งให้บิดามารดารับทราบทุกครั้ง พร้อมอธิบายเหตุผลที่ทำ
5.เปิดโอกาสให้บิดามารดาซักถามข้อสงสัยและตอบคำถาม เพื่อให้คลายความวิตกกังวลและเพี่อให้เกิดความร่วมมือ ในการรักษาพยาบาล
6.สนับสนุนให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อธิบาย/แนะนาการบีบเก็บน้ำนมมาส่งให้ทารก และสอนวิธีการเก็บรักษาน้ำนมที่ถูกต้อง
ประเมินผล
: บิดามารดาเข้าใจแผนการรักษาของแพทย์ รับทราบอาการปัจจุบันของบุตรอย่างต่อเนื่อง ยังมีความวิตกกังวลอยู่เนื่องจากทารมีอาการไม่คงที่ แพทย์นัดคุยเกี่ยวกับแนวโน้มของโรคที่รุนแรงมากขึ้นและแผนการรักษา มารดาร้องไห้และเสียใจ แจ้งว่าต้องการให้ช่วยเต็มที่ก่อน
น.ส.มนทิรา ฟักสมบูรณ์ เลขที่21