Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหายใจ Pharmacology of drugs affecting…
เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหายใจ
Pharmacology of drugs affecting the respiratory system
Antihistamines ยาต้านฮีสตามีน
เป็นสารเคมีที่ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย สร้างขึ้นเพื่อกำจัดสิ่งที่กระตุ้นให้เกิดการแพ้ (allergen) ออกไปจากร่างกายหรือออกจากผิวหนัง
Effect of histamine release
ผื่นลมพิษ
หน้า ตา ปาก บวม (angioedema)
คัน
หลอดลมตีบ
น้ำมูลไหล เสมหะ
Antihistamines : general use
ยาลดน้ำมูก ยาแก้แพ้ ยาแพ้อากาศ
ยากลุ่มนี้บางตัวถูกใช้เป็นยาเมารถ ยารักษาอาการคล้ายโรคพาร์กินสัน
ยากลุ่มนี้ส่วนใหญ่ทำให้ง่วง,ปากแห้ง,ตาแห้ง
รูปแบบยา
รูปแบบฉีดเข้าหลอกเลือด
รูปแบบใช้เฉพาะที่ ได้แก่ ยาทาภายนอก ยาหยอดตา ยาพ่นจมูก
รูปแบบรับประทา
ทำให้ง่วงซึกมาก
ใช้ป้องกันอาการเมารถ Dimenhydrinate , Diphenhydramine
ใช้ป้องกันอาการคลื่นไส้ (อาเจียน) Doxylamine
Ketotifen
Brompheniramine
Tripolidine
Chlorpheniramine (CPM)
เพิ่มความอยากอาหาร Cyproheptadine
ANTITUSSIVES ยาแก้ไอ
Antitussive: general use
ยาแก้ไอ
cough suppressants
จะให้ยาแก้ไอ ในกรณีที่เป็นอาการไอแบบไม่มีเสมหะหรือไอแห้ง
coughing reflex : อาการไอ
อาการไอเป็นการตอบสนองโดยอัตโนมัติ
ของร่างกาย (reflex)
การกระตุ้นอาการไออาจเกิดจากการอักเสบหรือสิ่งแปลกปลอม อยู่ในคอหอย , กล่องเสียง , หลอดลม หรือแขนงหลอดลม
การไอบางครั้งจะกระตุ้นให ้เกิดเสมหะ
ประเภทของยาแก้ไอตามการออกฤทธิ์
Centrally acting (opioids and non-opioids) antitussives ยาจะไปกดศูนย์ควบคุมการไอ (cough center) ในสมองส่วน medulla oblongata ทำให้การไอลดลง
codeine
คือ methylmorphine; เกิดจากการเติมหมู่ methyl (methylation) ลงใน morphine เพื่อเพิ่มปริมาณยาที่เข้าสู้ร่างกายโดยลดการถูกทำลายที่ตับ (first-pass effect)
dextromethorphan
มีฤทธิ์ระงับอาการไอได้ดีพอๆกับ codeine ยกเว้นอาการไอที่รุนแรง, ไม่มีฤทธิ์ขับเสมหะ
Peripheral antitussivesยาจะออกฤทธิ์ระงับการไอบริเวณหลอดลมคอและหลอดลมปอด โดยยับยั้ง airway sensory afferent ไม่ให้ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
Levodropropizine
ประสทธิภาพในการลดไอพอๆ กับยาในกลุ่ม Centrally
acting antitussives
ทำให้เกิดอาการง่วงซึมน้อยกว่า
EXPECTORANTS ยาขับเสมหะ
Expectorants: general use
ยาขับเสมหะ
ยาแก้ไอสำหรับอาการไอแบบมีเสมหะ
Expectorants: general action
เป็นยาที่ชี่อวายกระตุ้นการขับเสมหะ โดยเพิ่มปริมาณสารคัดหลั่ง(secretion) ในทางเดินหายใจทำให้เสมหะใสขึ้น มีความเหนียวน้อยลงและถูกขับออกจากทางเดินหายใจง่ายขึ้น ไม่ได้ทำให้หยุดไอ
Guaifenesin (Glyceryl Guaiacolate)
เป็นยาขับเสมหะที่นิยมใช้กันมาก
ออกฤทธิ์โดยกระตุ้น gastric receptor ที่กระเพาะอาหาร ทำให้เกิด vagal reflex ทำให้เพิ่ม
ยาขับเสมหะอื่นๆ ที่มักผสมในตำหรับยาแก้ไอขับเสมหะ
senega ออกฤทธิ์โดยทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุกระเพาะอาหาร แล้วเกิด reflex ไปกระตุ้นให้มีการหลั่งสารคัดหลั่งในทางเดินหายใจมากขึ้น
ชะเอม (liquorice) รสหวานขมชุ่ม ทำใหชุ่มคอ
น้ำมันหอมระเหย (volatile oil) ออกฤทธิ์โดยตรงต่อเซลล์หลอดลมให้หลั่งสารคัดหลั่งมากขึ้น เช่น eucalyptus oil, anise oil
ยาละลายเสมหะ (mucolytic agents)
ยาไปทำให้ disulfide bond ระหว่างโมเลกุลของ glycoprotein ในเสมหะแตกออก
ยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ N-acetylcysteine (NAC), bromhexine, ambroxol,
carbocysteine
ยาที่ทำให้เสมหะใสขึ้น ไม่เหนียวข้น เพื่อให้ถูกขับออกจากทางเดินหายใจโดยการพัดโบกของขนในทางเดินหายใจ หรือการไอได้ง่ายขึ้น
NASAL DECONGESTANTS(ยาลดอาการคัดจมูก)
Nasal decongestants: general use
ใช้เป็นยาร่วมในการรักษาโรคหูส่วนกลาง เพื่อลดการอักเสบของ eustachian tube
บรรเทาอาการปวดและลดความดันในหูขณะขึ้นเครื่องบิน
ยาแก้คัดจมูก ยาบรรเทาอาการคัดจมูก
Nasal decongestants: ยาภายนอก
Ephedrine
เป็นยาที่มีระยะการออกฤทธิ์สั้น
ทำให้เกิด rebound congestion ได้บ่อย ปัจจุบันไม่นิยมใช ้
มีฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้ความดันเลือดสูงชั่วคราวชีพจรเต้นแรง
Nasal decongestants: ยาบรรเทาอาการคัดจมูก
1.อนุพันธ์ของ ß-phenylethylamineเชน่ ephedrine, pseudoephedrine,phenylephrine,propylhexedrine,methoxamine,phenylpropanolamine (PPA) -> ถูกถอนทะเบียน
2.อนุพันธ์ของ imdazoline เชน่ naphazoline, tetrahydrozoline, oxymetazoline, xylometazoline ยากลุ่มนี้มีฤทธิ์แรงและมีระยะเวลาการออกฤทธิ์นานกว่าอนุพันธ์ ß-phenylethylamine
BRONCHODILATORS
(ยาขยายหลอดลม)
Bronchodilators: general use
เป็นยาที่ใช้รักษาในโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และโรคหอบหืด
ยาขยายหลอดลม
นิยมใช้ยารูปแบบพ่นสูดทางปาก
Beta (ß)-adrenergic agonist (sympathomimetics) ผลขยายหลอดลมเกิดจากการกระตุ้นให้เกิดการสร้าง cyclic adenosine monophosphate (cAMP)
non selective ß2 agonist ได้แก่ isoproterenol, epinephrine (adrenaline)
selective ß2 agonist ได้แก่ salbutamol (albuterol), terbutaline, formoterol, salmeterol,fenoterol, procaterol, indacaterol, vilantero
Methylxanthine derivatives ผลขยายหลอดลมเกิดจากการยับยั้งเอนไซม์ Phosphodiesterase ทำให้ไม่มีการทำลาย cyclic adenosine monophosphate (cAMP)
Aminophylline
เป็นยารุ่นเก่า มีในรูปแบบรับประทานและยาฉีด เมื่อยาเข้าสู้ร่างกายจะเกิดปฏิกิริยาในร่างกายทำให้้theophylline ถูกปลดปล่อยและออกฤทธิ์ขยายหลอดลม
กลไกการออกฤทธิ์:ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ phosphodiesterase ทำให้มี cAMP ในเซลล์เพิ่มขึ้นเป็นผลให้กล้ามเนื้อหลอดลมคลายตัว
Anticholinergic ผลขยายหลอดลมเกิดจากการยับยั้งการทำงานของ acetylcholine ที่ทางเดินหายใจ
การกระตุ้น parasympathetic system จะมีการหลั่ง acetylcholine ทำให้muscarinic receptor ในทางเดินหายใจถูกกระตุ้นและหลอดลมหดตัว เสมหะในทางเดินหายใจจะเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นการใช้ยาที่มีฤทธิ์anticholinergic ก็จะไปยับยั้งกระบวนการนี้ ทำให้หลอดลมคลายตัว เสมหะลดลง
ชนิดออกฤทธิ์สั้น ได้แก่ ipratropium
ยาที่ใช้ในปัจจุบันจะถูกผสมกับ fenoterol หรือ salbutamol เนื่องจาก ipratropium จะออกฤทธิ์ช้ากว่า จึงต้องให้ ß2 agonistืช่วยออกฤทธิ์ขยายหลอดลมก่อน แต่ไม่ได้ทำให้ประสิทธิภาพในการขยายหลอดลมเพิ่มขึ้น
มีเฉพาะรูปแบบพ่นสูดเท่านั้น
นิยมนำมาใช้เป็นยาขยายหลอดลมบรรเทาอาการ(ยาฉุกเฉิน) ในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เนื่องจากช่วยลดเสมหะได้
ชนิดออกฤทธิ์ยาว ได้แก่ tiotropium, glycopyrronium, umeclidinium
ไม่แนะนำให้ใช้ตอนมีอาการกำเริบ
อาการข้างเคียง ได้แก่ ปาดแห้ง คอแห้ง ท้องผูก ปัสสาวะคั่ง
ออกฤทธิ์นาน 24 ชั่วโมง ให้ยาวันละ 1 ครั้ง