Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภารกิจของผู้สอน ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้, นางสาวสราลี ขันนาค …
ภารกิจของผู้สอน
ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับของการดำเนินงาน
การวัดและประเมินระดับชั้นเรียน
(หัวใจของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ผู้เรียน)
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในชั้นเรียน (Classroom Assessment) คือ กระบวนการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ บันทึกข้อมูลที่ได้จากการวัดและประเมินทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับความก้าวหน้า จุดเด่น จุดที่ต้องปรับปรุงให้แก่ผู้เรียน**
การวัด (Measurement) คือ การกำหนดตัวเลขให้กับวัตถุ สิ่งของ หรือพฤติกรรมต่างๆของผู้เรียน
การประเมิน (Assessment) คือ กระบวนการเก็บข้อมูล ตีความ บันทึก และใช้ข้อมูลเกี่ยวกับคำตอบของผู้เรียน ว่าผู้เรียนรู้อะไร สามารถทำแะไรได้
การประเมินค่า/การตัดสิน (Evaluation) คือ การนำเอาข้อมูลต่างๆที่ได้จากการวัดหลายๆอย่างมาเป็นข้อมูลในการตัดสินผลการเรียน
การวัดและประเมินระดับสถานศึกษา
การวัดและประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา
การวัดและประเมินระดับชาติ
ประเภทของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ :
จำแนกตามขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน ก่อนเรียน ระหว่างเรียนและหลังเรียน
การประเมินเพื่อจัดวางตำแหน่ง(Placement Assessment)
ประเมินก่อนเริ่มเรียน เพื่อสำรวจข้อมูลความพร้อมของผู้เรียน
การประเมินเพื่อวินิจฉัย(Diagnostic Assessment)
ผู้เรียนรู้อะไรมาบ้างเกี่ยวกับสิ่งที่เรียน
การประเมินเพื่อพัฒนา (Formative Assessment)
ดำเนินการพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดการเรียนการสอน
การประเมินเพื่อสรุปผลการเรียนรู้ (Summative Assessment)
ตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
จำแนกตามวัตถุประสงค์ของการประเมิน
การประเมินขณะเรียนรู้ (Assessment as Learning : Aal)
ช่วยให้ผู้เรียนตระหนักในการเรียรู้ของตนเอง สามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
การประเมินเพื่อเรียนรู้ (Assessment for
Learning : AfL)
ระบุและวินิจฉัยปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน
การประเมินผลการเรียนรู้ (Assessment of Learning : AoL)
ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
จำแนกตามวิธีการแปลความหมาย
การวัดและประเมินแบบอิงกลุ่ม(Norm-Referenced Assessment)
นำเสนอผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนโดยเปรีบยเทียบกันเองภายในกลุ่มหรือชั้นเรียน
การวัดและประเมินแบบอิงเกณฑ์ (Criterion-Referenced Assessment)
นำเสนอผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนโดยเปรีบยเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดขึ้น
วิธีการและเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
วิธีการและเครื่องมือวัดและประเมินผลแบบเป็นทางการ
เป็นการได้มาซึ่งข้อมูลผลการเรียนที่นิยมใช้กันมาแต่ดั้งเดิม เช่น วัดและประเมินโดยการจัดสอบ
วิธีการและเครื่องมือวัดและประเมินผลแบบไม่เป็นทางการ
เป็นการได้มาซึ่งข้อมูลผลการเรียนที่เน้นผู้เรียนรายบุคคล ผู้สอนเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์พัฒนาการของผู้เรียน และปรับปรุงการสสอนให้เหมาะสม
วิธีการประเมิน
การสังเกตพฤติกรรม
การสอบปากปล่าว
การพูดคุย
การใช้คำถาม
การเขียนสะท้อนการเรียนรู้
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินด้วยแฟ้มสะสมผลงาน
การวัดและประเมินด้วยแบบทดสอบ
การประเมินด้านความรู้สึกนึกคิด
ขั้นรับรู้
ขั้นตอบสนอง
ขั้นเห็นคุณค่า (ค่านิยม)
ขั้นสร้างคุณลักษณะ
ขั้นจัดระบบความคิด
การประเมินตามสภาพจริง
การประเมินตนเองของผู้เรียน
การประเมินโดยเพื่อน
หลักฐานการเรียนรู้
ผลผลิต
รายงานที่เป็นรูปเล่ม สิ่งประดิษฐ์ แบบจำลอง แฟ้มสะสมผลงาน โครงงาน ฯลฯ
ผลการปฏิบัติ
การรายงานด้วยวาจา การสาธิต การทดลอง การปฏิบัติภาคสนาม ฯลฯ
กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ศึกษา/วิเคราะห์ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด จากหลักสูตรสถานศึกษา
จัดทำโครงสร้างรายวิชา และแผนการประเมิน
ชี้แจงรายละเอียดของแผนการประเมินแก่ผู้เรียน
ประเมินวิเคราะห์ผู้เรียน
ประเมินความก้าวหน้าระหว่างเรียน
ประเมินความสำเร็จหลังเรียน
ประเมินผลปลายปี/ปลายภาค
ตัดสินผลการเรียน
ส่งผลการเรียนให้
ครูประจำชั้น
คณะอนุกรรมการกลุ่มสาระ
ฝ่ายทะเบียนวัดผล
อนุมัติผลการเรียน
รายงานผลการเรียนต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง
นางสาวสราลี ขันนาค
รหัสนักศึกษา 641561014 ห้อง G -1