Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ทฤษฎีทางการพยาบาลจิตเวชในการดูแลผู้ป่วย - Coggle Diagram
การใช้ทฤษฎีทางการพยาบาลจิตเวชในการดูแลผู้ป่วย
ทฤษฎีทางการพยาบาล
Peplau's interpersonal Theory
บทบาทของพยาบาลจิตเวช 7 บทบาท
1.บทบาทคนแปลกหน้า
2.บทบาทแหล่งสนับสนุน
3.บทบาทสอน
4.บทบาทผู้ให้คำแนะนำ
5.บทบาททดแทน
6.บทบาทผู้นำ
7.บทบาทของผู้เชี่ยวชาญทางเทคนิค
มโนทัศน์หลักของทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
Person ,Environment ,Health ,Nursing
Roy's Adaptation Theory
มุ่งส่งเสริมให้บุคคลปรับตัวได้เหมาะสมตามสถานการณ์สิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
การประเมินพฤติกรรมของผู้ป่วย เพื่อรวบรวมข้อมูลประเมินผู้ป่วยทั้ง 4ด้าน
การประเมินองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัวของผู้ป่วย เพื่อหาสาเหตุของพฤติกรรม
การกำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
กำหนดเป้าหมายสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้ป่วย
การปฏิบัติการพยาบาล พิจารณาตามความเหมาะสม
การประเมินผล ขั้นสรุปและวิเคราะห์
นำข้อมูลก่อนและหลังมาเปรียบเทียบกัน
Orem' s Self-Care Theory
ทฤษฎีการดูแลตนเอง กระทำดูแลตนเองอย่างจงใจ
ทฤษฎีความบกพร่องในการดูแลตนเอง
ทฤษฎีความบกพร่องในการดูแลตนเอง
บุคคลนั้นไม่สามารถดูแลตนเองได้
ทฤษฎีระบบการพยาบาล ส่งเสริมให้บุคคลสามารถดูแลตนเอง
หากบกพร่องจะให้การพยาบาลทดแทนได้อย่างเหมาะสม
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
ระดับของจิตใจ (เปรียบเทียบจิตใจของคนเป็นเหมือนก้อนน้ำแข็งที่ลอยอยู่ในน้ำ)
ระดับจิตสำนึก
ระดับจิตใต้สำนึก
ระดับจิตไร้สำนึก
ID : เป็นส่วนหนึ่งที่อยู่ใต้จิตไร้สำนึกเป็นแรงผลักดันทางเพศและแรงผลักดันทางก้าวร้าว
Ego: ทำหน้าที่อยู่ 3 ระดับโดยควบคุมการบริหาร
จัดการต่อแรงผลักดันต่างๆที่มีปฏิสัมพันธ์กัน ทำหน้าที่ประนีประนอมระหว่างID กับข้อจำกัดจาก
สภาพจริงภายนอก
Superego: เป็นส่วนของจิตใจด้านมโนธรรมมีหน้าที่คอยตัดสินความคิด การกระทำว่าถูกหรือผิด
พัฒนาการด้านบุคลิค
1.ระยะปาก(Oral stage)
2.ระยะทวารหนัก(Anal stage)
3.ระยะพัฒนาการการทางเพศ(Phallic stage)
4.ระยะแฝง(Latency stage)
5.ระยะวัยเจริญพันธ์(Genital stage)
ทฤษฎีปัญญานิยม
ทฤษฎีการบำบัดแบบเน้นเหตุผล
อารมณ์และพฤติกรรม(RET)
มีเป้าหมายการบำบัดเพื่อขจัดความเชื่อที่ไม่สมเหตุสมผลโดยให้บุคคลตระหนักถึงความคิดที่ไม่ถูกต้องของตน อธิบายกระบวนการเกิดความคิดที่ไม่สมเหตุสมผลในรูปแบบ A-B-C
ทฤษฎีเบค
1.เหตุการณ์ทางปัญญา
2.กระบวนการทางปัญญา
3.โครงสร้างทางปัญญา
ทฤษฎีสัมพันธภาพ
ระหว่างบุคคล
ระบบแห่งตน
ฉันดี(Good me)
ไม่ใช่ฉัน(Not me)
พัฒนาการบุคลิคภาพ
Trust vs Mistrust
2.Aunotomy vs Shame and Doub
3.Intiative vs Guilt
4.Industry vs Inferiorrity
5.Identity vs Role confusion
6.Intimacy vs Isolation
7.Generativity vs Stagnation
8.Intergrity vs Despair
ทฤษฎีมนุษยนิยม
ทฤษฎีการเน้นใช้ผู้บริการ
เป็นศูนย์กลางของโรเจอร์
1.ความสอดคล้องกลม
เกลียว(Congruence)
2.การรับยอมทางบวก
โดยปราศจากเงื่อนไข
3.การเข้าใจความรู้สึก(Empathy)
ทฤษฎีความต้องการ
ของมาสโลว์
ทฤษฎีชีวภาพ
ทางการแพทย์
เชื่อว่าความเจ็บป่วยทางจิตเวชมีสาเหตุมาจากร่างกายและจิตใจ
และอธิบายว่าบุคคลเป็นหน่วยรวมขององค์ประกอบด้านชีวภาพและจิตใจ การเจ็บป่วยทางจิตเป็นผลมาจากการมีพยาธิสภาพด้าน
ชื่วภาพและความล้มเหลวของการปรับตัวกับสิ่งแวดล้อมชีวภาพและความล้มเหลวของปรับ
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
Pavlov' s Classical Condition Theory
1)พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์เกิดจากการวางเงื่อนไขที่ตอบสนองต่อความต้องการทางธรรมชาติ
2)พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์สามารถเกิดขึ้นได้จากสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขกับสิ่งเร้าตามธรรมชาติจะหยุดลง
เมื่อไม่ได้รับการตอบสนองตามธรรมชาติและจะกลับปรากฏขึ้นได้อีกโดยไม่ต้องใช้สิ่งเร้าตามธรรมชาติ
3) มนุษย์มีแนวโน้มที่จะจำแนกลักษณะของสิ่งเร้าให้แกต่างกันและเลือก ตอบสนองได้ถูกต้อง
Watson's Classical Conditioning Theory
1)พฤติกรรมเป็นสิ่งที่สามารถควบคุมให้เกิดขึ้นได้โดยการควบคุมสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขให้สัมพันธ์กับสิ่งเร้าตามธรรมชาติและ การเรียนรู้จะคงทนถาวรหากมีการให้สิ่งเร้าที่สัมพันธ์กันนั้นควบคู่กันไปอย่างสม่ำเสมอ
2) เมื่อสามารถทำให้เกิดพฤติกรรมใดๆ ได้ ก็สามารถลดพฤติกรรมนั้นให้หายไปได้
Operant Conditioning Theory
1)การกระทำใดๆถ้ได้รับการเสริมแรงจะมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นอีกส่วนการกระทำที่ไม่มีการเสริมแรงแนวโน้มความถี่ของการกระทำนั้นจะลดลงและหายไปในที่สุด
2)การเสริมแรงที่แปรเปลี่ยนทำให้การตอบสนองคงทนกว่าการเสริมแรงที่ตายตัวปรับหรือปลูกฝังนิสัยที่ต้องการได้
3) การลงโทษทำให้เรียนรู้ได้เร็วและลืมเร็ว
4)การให้แรงเสริมหรือให้รางวัลเมื่อกระทำพฤติกรรมที่ต้องการสามารถช่วยปรับและปลูกฝังนิสัยได้
Social Cognitive Learning
ให้ความสำคัญกับบริบททางสังคมและมีปฏิสัมพันธ์การเรียนรู้บทบาทและ พฤติกรรมตามต้นแบบในสังกัด
1) ตัวแบบจากชีวิตจริง (Live model)
2) ตัวแบบสัญลักษณ์ (Symbolic model)
3) ตัวแบบในรูปคาสอน (Verbal description or instruction)