Coggle requires JavaScript to display documents.
สถานที่ อุปกรณ์ และบุคลากรผู้ให้บริการ ขั้นตอนการให้บริการ แยกหญิงตั้งครรภ์เสี่ยง
ยื่นบัตรประชาชนเพื่อตรวจสอบสิทธิการรักษา/ค้นประวัติเก่า
หากเป็นการฝากครรภ์ครั้งที่ 1
หากเป็นการฝากครรภ์ครั้งต่อไป
รอเรียกชื่อเข้าห้องตรวจ
ตรวจครรภ์ (ดูท่าเด็ก ขนาดของหน้าท้อง ฟังเสียงหัวใจเด็ก
ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ ฝากครรภ์
ควรมีการตรวจเมื่อฝากครรภ์ครั้งแรก (<12wks.) สตรีที่ควรได้รับการตรวจภายใน คือ
ฝากครรภ์ครั้งแรก ที่อายุครรภ์ไม่เกิน 20 wks. เพื่อประเมินลักษณะของช่องคลอด ปากมดลูก ลักษณะ สี และกลิ่น ของสารคัดหลัง ขนาด ตำแหน่ง ลักษณะ และอาการกดเจ็บของมดลูก การตั้งครรภ์นอกมดลูก
สงสัยว่ามีการติดเชื้อภายในช่องคลอด เป็นการตรวจสิ่งคัดหลังจากช่องคลอด และให้การรักษาก่อนการคลอด หากมารดาติดเชื้อหนองใน (Neisseria gonorrhea) และไม่ได้รับการรักษาจนกระทั่งคลอด อาจทำให้ทารกที่คลอดผ่านช่องคลอดมีการอักเสบติดเชื้อของตา (Ophthalmia neonatorum)
ให้ประวัติว่ามีเลือดออกทางช่องคลอด ทั้งนี้เลือดออกทางช่องคลอดในขณะอายุครรภ์ไตรมาสที่ 1 อาจแสดงถึงการแท้งคุกคาม และถ้าเลือดออกเมื่ออายุครรภ์ยังไม่ครบกำหนด จะเป็นความเสี่ยงของการคลอดก่อนกำหนด
มีอาการเจ็บครรภ์ เป็นการประเมินการเข้าสู่ระยะคลอด โดยประเมินการเปิดของปากมด ลูก ความบาง ระดับของส่วนนำ ท่าของทารกในครรภ์
มักปัสสาวะบ่อย ในไตรมาสแรก และสุดท้าย เกิดจากมดลูกกดทับกระเพาะปัสสาวะ หากกลั้นปัสสาวะอาจจะทำให้เกิดกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis)
ระดับที่ 1 เป็นการตรวจคัดกรองอย่างง่าย ได้แก่ การตรวจประเมินอายุครรภ์ และการเจริญเติบโตของทารก การวินิจฉัยครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ การตรวจหาส่วนนำ และท่าของทารกการ ตรวจดูปริมาณน้ำคร่ำ
ระดับที่ 2 เป็นการตรวจอย่างละเอียดเพื่อค้นหาความพิการของทารก เช่น anencephaly, Omphalocele เป็นต้น การตรวจระดับนี้จะเริ่มทำระหว่างอายุครรภ์ 15-20 wks.
ระดับที่ 3 เป็นการตรวจที่ครอบคลุมถึงการวินิจฉัยที่ยากขึ้นไป และรวมถึงความพร้อมทางการรักษา เช่น การตรวจภาวะหัวใจพิการแต่กำเนิดที่ซับซ้อน การเจาะสายสะดือทารกในครรภ์ เป็นต้น
ประเมินอายุครรภ์ ตามสะดือ
ประเมินตามหลัก McDonald’s rule