Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ดนตรีไทยสมัยรัตนโกสิน - Coggle Diagram
ดนตรีไทยสมัยรัตนโกสิน
-
รัชกาลที่ 2
ทรงเป็นทั้งนักดนตรีและดุริยกวีทรงส่งเสริมด้านวรรณคดีและการละคร พระองค์ทรงซอสามสาย ได้ไพเราะยิ่ง (ซอสามสายของพระองค์ มีนามว่า ซอสายฟ้าฟาด)
มีการน าวงปี่พาทย์มาบรรเลงประกอบการขับเสภาเป็นครั้งแรก ท าให้เกิดกลองชนิดใหม่ขึ้น เรียกว่า “กลองสองหน้า” ซึ่งดัดแปลงมาจากเปิงมางของมอญเพื่อใช้แทนตะโพนไทย และกลองทัดซึ่งดังกลบเสียงร้อง
-
รัชกาลที่ 4
-
มีการสร้างเครื่องดนตรีไทยขึ้นอีก คือ “ระนาดเอกเหล็ก” และ “ระนาดทุ้มเหล็ก” ซึ่งได้เพิ่มเข้ามาในวงปี่พาทย์ จึงเรียก วงปี่พาทย์ชนิดนี้ว่า “วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่”
-
รัชกาลที่ 1
มีการเพิ่มกลองทัดขึ้นมาในวงปี่พาทย์หนึ่งลูก รวมเป็นสองลูก เสียงสูงลูกหนึ่งเรียกว่า “ตัวผู้” เสียงต่ าลูกหนึ่งเรียกว่า “ตัวเมีย”
รัชกาลที่ 5
มีการปรับปรุงวงปี่พาทย์ชนิดใหม่ เรียกว่า “วงปี่พาทย์ ดึกด าบรรพ์” ใช้บรรเลงประกอบ การแสดงละครดึกด าบรรพ์ ซึ่งมีลักษณะเสียงทุ้ม และนิ่มกว่าวงปี่พาทย์ชนิดอื่นๆ จึงมีการสร้าง เครื่องดนตรีชนิดใหม่ขึ้น ได้แก่ ฆ้องหุ้ย ขลุ่ยอู้ และกลองตะโพน
รัชกาลที่ 6
มีการน าเครื่องดนตรีของต่างชาติมาผสมเช่นวงเครื่องสาย น าเอาขิมของจีนมาผสม และน าออร์แกนของฝรั่งเข้ามาผสม จนท าให้เกิดเป็นรูปแบบของวงเครื่องสายผสม
รัชกาลที่ 8
ดนตรีไทยเริ่มเข้าสู่ภาวะซบเซา เนื่องจากรัฐบาล ไม่ให้การส่งเสริมและสนับสนุน มีการห้ามเล่นดนตรีไทย อย่างเคร่งครัด บทเพลงไทยมีลักษณะเป็นการน าท านอง ของเพลงสากลมาผสมผสานกับเพลงไทย และมีการแต่ง เพลงปลุกใจ
รัชกาลที่ 9
รูปแบบเพลงในสมัยนี้เป็นการน าท านองเพลงไทยแท้ (ของเก่า) มาบรรเลงเร่งจังหวะและเพิ่มรูปแบบการประสานเสียงตามแบบ ดนตรีสากล เป็นช่วงที่ดนตรีร่วมสมัยก าลังเป็นที่นิยม มีเพลง ลูกทุ่งและลูกกรุงเกิดขึ้นมา