Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case twin B เพศหญิง G1P0 GA26+1 คลอด C/S BW 599gm. Dx.Preterm extermely…
-
กิจกรรมการพยาบาล
5.ประเมินสัญญาณชีพก่อนให้ ถ้ามีความผิดปกติ เช่น ไข้ ตัวเย็น ชัก ความดันโลหิตต่ำ หยุดการให้เลือด รายงานแพทย์ทันที
- ขณะให้เลือดวัดสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที x 4 ครั้ง ทุก 30 นาที x 2 ครั้ง และทุก 1 ชั่วโมง จนกว่าเลือดจะหมดภายใน 4 ชั่วโมง
- สิ้นสุดการให้เลือด วัดสัญญาณชีพ หลังให้เลือดหมด เจาะ Hct หลังให้เลือดหมด 4 ชม. และสังเกตอาการหลังให้เลือดจนครบ 24 ชม.
1.ประเมินภาวะซีด ตรวจร่างกายประเมิน ผิวซีด , capillary refill > 3 sec เพื่อประเมิน tissue perfusion
-
-
-
6.ติดตามผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการ CBC , HCT
ประวัติมารดา
ประวัติการคลอด
Case ทารกเพศหญิง preterm VLBW G1P0 GA 26+1 wks. by u/s C/S due to Preterm twin MCDA วันที่ 29/11/64 เวลา 14.02น. BW 599gm. Apgar 7-9-9 ยาว 30ซม. รอบศรีษะ 22ซม. รอบอก 17ซม. แรกคลอด HR<100bpm skin mild blue กระตุ้น PPV 2cycle suction ได้น้ำคร่ำ 3ccใส HR 154bpm หลังจากนั้น obs มี mild retraction ให้ PPV ต่อและย้าย NICU
ประวัติการตั้งครรภ์
23/11/64 ที่อายุครรภ์ 25+5 สัปดาห์ ตรวจครรภ์ที่คลินิก พบ 50 GST 191 mg/dl สูงผิดปกติ และ Twin B มี Reversed flow มีโอกาสเสียชีวิตในครรภ์สูง แพทย์ที่คลินิกแนะนำให้ไปรักษาต่อที่รพ.จุฬาลงกรณ์ แต่เตียง NICU ที่รพ.จุฬาลงกรณ์เต็ม และมารดาสิทธิการรักษาอยู่ที่จ.ระยอง มารดาจึงกลับมา admit ที่รพ.ระยอง เริ่มมีเจ็บครรภ์ วันที่ 26/11/64 inhibit ด้วย Adalat, Bricanyl และได้ยา Dexamethasone 6 mg IM × 4 dose แพทย์ Set C/S due to Preterm c Twin (MCDA) วันที่ 29/11/64
มารดา อายุ 19ปี G1P0 ฝากครรภ์คุณภาพที่คลินิกฝากครรภ์ 9 ครั้ง, Lab VDRL : non reactive , Anti-HIV : neg , DCIP : negative,
OF : negative, Blood Gr.A Rh+
ตับทำงานไม่สมบูรณ์
glycogen สะสมในตับน้อย
gluconeogenesis ได้น้อย
neonatal hypoglycemia
การรักษา
ให้10% D/W 2 มล/กก ทางหลอดเลือดดำช้าๆ มากกว่า 1 นาทีตามด้วยกลูโคสทางหลอดเลือดดำในอัตรา 6-8 มก/กก/นาที3-4 ตามอัตรา endogenous glucose production (AAP1แนะนำในอัตรา5-8 มก/กก/นาที) เป้าหมายเพื่อให้ระดับพลาสมากลูโคส>45 มก/ดล
-
DTX แรกเกิด 29/11/64 = 29mg% ,FBS=25mg%
ขับสารเหลืองได้ไม่ดี
Hyperbilirubinemia
การรักษา
-
การใช้ยาในการรักษา
Phenobarbital ช่วยลดการขนส่งบิลิรูบินเข้าสู่เซลล์ตับ มีเมตาบอลิซึมของบิลิรูบินและการขับถ่ายออกทางนำดีมากยิ่งขึ้น
Agar,Charcoal ที่ช่วยยับยั้งการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-