Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภารกิจของผู้สอนด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้, วิธีการและเครื่องมือวัดแ…
ภารกิจของผู้สอนด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ประเภทของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จำแนกตามขั้นนตอนการจัดการเรียนการสอน
การประเมินเพื่อวินิจฉัย
เป็นการเก็บข้อมูลเพื่อค้นหาว่า
ผู้เรียนรู้อะไรมาบ้างเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียน สิ่งที่รู้มาก่อนนี้ถูกต้องหรือไม่
การประเมินเพื่อการพัฒนา
เป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดการเรียนการสอน
การประเมินเพื่อจัดวางตำแหน่ง
เป็นการประเมินก่อน
เริ่มเรียนเพื่อต้องการข้อมูลที่แสดงความพร้อม ความสนใจ
การประเมินเพื่อสรุปผลการเรียนรู้
มักเกิดขึ้นเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้เพื่อตรวจสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามตัวชี้วัด และใช้เป็นข้อมูลในการเปรียบเทียบกับการประเมินก่อนเรียน ทำให้ทราบพัฒนาการของผู้เรียน
จำแนกตามวิธีการแปลความหมายผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินแบบอิงกลุ่ม
เป็นการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพื่อนำเสนอผลการตัดสินความสามารถหรือผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน โดยเปรียบเทียบกันเองภายในกลุ่มหรือในชั้นเรียน
การวัดและประเมินแบบอิงเกณฑ์
เป็นการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพื่อนำเสนอผลการตัดสินความสามารถหรือผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน โดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดขึ้น
ตัวอย่างวิธีการประเมิน
การสังเกตพฤติกรรม
การสอบปากเปล่า
เป็นการให้ผู้เรียนได้แสดงออกด้วยการพูด ตอบประเด็นเกี่ยวกับการเรียนรู้
ตามมาตรฐาน ผู้สอนเก็บข้อมูล จดบันทึก
การพูดคุย
สามารถดำเนินการเป็นกลุ่มหรือรายบุคคลก็ได้
การประเมินการปฏิบัติ
เป็นวิธีการประเมินงานหรือกิจกรรม
ที่ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติงานเพื่อให้ทราบถึงผลการพัฒนาของผู้เรียน
การเขียนสะท้อนการเรียนรู้
(Journals) เป็นรูปแบบการบันทึกการเขียนอีกรูปแบบหนึ่งที่ให้ผู้เรียนเขียนตอบกระทู้ หรือคำถามของครู
การใช้คำถาม
หลักฐานการเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ
ผลผลิต:
รายงานที่เป็นรูปเล่ม สิ่งประดิษฐ์ แบบจำลอง แผนภูมิ แฟ้มสะสมงาน ผังมโนทัศน์
การเขียนอนุทิน การเขียนความเรียง คำตอบที่ผู้เรียนสร้างเอง โครงงาน ฯลฯ
ผลการปฏิบัติ :
การรายงานด้วยวาจา การสาธิต การทดลอง การปฏิบัติการภาคสนาม
การอภิปราย การจัดนิทรรศการ การสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนของครูรายงานการประเมินตนเองของผู้เรียน ฯลฯ
เกณฑ์การประเมิน (Rubrics)
แบบแยกประเด็น
แบบภาพรวม
เช่น ต้องการประเมินการเขียนเรียงความ แต่ไม่ได้พิจารณาแยกแต่ละประเด็น ว่าเขียนนำเรื่องสรุปเรื่อง การผูกเรื่องแต่ละประเด็นเป็นอย่างไร แต่เป็นการพิจารณาในภาพรวมและให้คะแนนภาพรวม
ตัวอย่างชิ้นงาน
ควรมีหลาย ๆระดับ เพื่อผู้เรียนจะได้เห็นความแตกต่าง
ผลงานของผู้เรียน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ประเมินอย่างไร
ไม่ควรแยกประเมินต่างหากอีก แต่ทั้งนี้สถานศึกษาต้องตรวจสอบว่าผู้เรียน
เกิดสมรรถนะสำคัญตามที่หลักสูตรกำหนดหรือไม่
การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ควรใช้วิธีการประเมินที่เน้นการปฏิบัติ และบูรณาการอยู่ในบูรณาการอยู่ในกระบวนการเรียนการสอนแล้ว
กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร
๒. จัดทำโครงสร้างรายวิชาและแผนการประเมิน
๑. ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดจากหลักสูตรสถานศึกษา สัดส่วนคะแนนระหว่างเรียนกับคะแนนปลายปี/ปลายภาค เกณฑ์ต่าง ๆ ที่สถานศึกษากำหนด ตลอดจนต้องคำนึงถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค
๓. ชี้แจงรายละเอียดของการวัดและประเมินผลให้ผู้เรียนเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ ภาระงาน เกณฑ์ คะแนน ตามแผนการประเมินที่กำหนดไว
๔. การจัดการเรียนรู้ของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ควรวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็น ๓ระยะ
ประเมินวิเคราะห์ผู้เรียนก่อนการเรียนการสอน ประเมินความก้าวหน้าระหว่างเรียน
และการประเมินความสำเร็จหลังเรียน
วิธีการและเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
แบบไม่เป็นทางการ
เน้นผู้เรียนเป็นรายบุคคล
ศึกษาความพร้อมและพัฒนาการของผู้เรียน
ปรับการเรียนการสอนให้เหมาะสม
ประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระ ผลการเรียนรู้ด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ผลการพัฒนา
พฤติกรรมตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์
แบบเป็นทางการ
วัดและประเมินโดยการจัดสอบ
ใช้แบบสอบหรือแบบวัดที่ครูสร้างขึ้น
เหมาะสำหรับการประเมินเพื่อตัดสิน มากกว่า
ที่จะใช้เพื่อประเมินพัฒนาการผู้เรียน
ข้อมูลต้องได้มาจากวิธีการวัดที่ถูกต้อง เหมาะสมกับลักษณะข้อมูล เครื่องมือวัดและประเมินผลมีความเที่ยงตรงและะมีความเชื่อมั่น