Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภารกิจของผู้สอน ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ - Coggle Diagram
ภารกิจของผู้สอน
ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ความหมายและความสำคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในชั้นเรียน
การวัด (Measurement) หมายถึง การกำหนดตัวเลขให้กับวัตถุ สิ่งของ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์หรือพฤติกรรมต่าง ๆ ของผู้เรียน
การประเมิน (Assessment) หมายถึง กระบวนการเก็บข้อมูล ตีความ บันทึก และใช้ข้อมูลเกี่ยวกับคำตอบของผู้เรียน ที่ทำในภาระงาน/ชิ้นงาน
การประเมินค่า/การตัดสิน (Evaluation) หมายถึง การนำเอาข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้จากการวัดหลาย ๆ อย่างมาเป็นข้อมูลในการตัดสินผลการเรียน โดยการเปรียบเทียบกับเกณฑ์(Criteria)
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในชั้นเรียน (Classroom Assessment) หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ บันทึกข้อมูลที่ได้จากการวัดและประเมินทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
ประเภทของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
2.การวัดและประเมิน ผลการเรียนรู้จำแนกตามวิธีการแปลความหมายผลการเรียนรู้ :
การวัดและประเมินแบบอิงกลุ่ม (Norm-Referenced Assessment)
การวัดและประเมินแบบอิงเกณฑ์ (Criterion-Referenced Assessment)
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้จำแนกตามขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนก่อนเรียนระหว่างเรียนและหลังเรียน
การประเมินเพื่อจัดวางตำแหน่ง (Placement Assessment)
การประเมินเพื่อวินิจฉัย (Diagnostic Assessment)
การประเมินเพื่อการพัฒนา (Formative Assessment)
การประเมินเพื่อสรุปผลการเรียนรู้ (Summative Assessment)
หลักฐานการเรียนรู้ ประเภทต่างๆ
ผลผลิต : รายงานที่เป็นรูปเล่ม สิ่งประดิษฐ์ แบบจำลอง แผนภูมิ แฟ้มสะสมงาน ผังมโนทัศน์ การเขียนอนุทิน การเขียนความเรียง คำตอบที่ผู้เรียนสร้างเอง โครงงาน ฯลฯ
ผลการปฏิบัติ : การรายงานด้วยวาจา การสาธิต การทดลอง การปฏิบัติ การภาคสนาม
การอภิปราย การจัดนิทรรศการ การสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนของครู รายงานการประเมินตนเองของผู้เรียน ฯลฯ
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ประเมินอย่างไร
การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนจึงควรใช้วิธีการประเมินที่เน้นการปฏิบัติ
วิธีการและเครื่องมือวัดและประเมิน
ผลการเรียนรู้
วิธีการและเครื่องมือวัดและประเมินผลแบบเป็นทางการ (Formal Assessment)
วิธีการและเครื่องมือวัดและประเมินผลแบบไม่เป็นทางการ (Informal Assessment)
เกณฑ์การประเมิน (Rubrics)
และตัวอย่างชิ้นงาน (Exemplars)
เกณฑ์การประเมินยังใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้สอนกับผู้ปกครอง และผู้เรียนกับผู้ปกครอง
กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร
ผลการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย
ผลการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย