Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบหายใจ (Respiratory system) - Coggle Diagram
ระบบหายใจ (Respiratory system)
แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ
Conducting part ส่วนที่เป็นทางผ่านของอากาศ (Air passages) โดยไม่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ
ประกอบด้วย
Larynx
ทำหน้าที่เป็นแหล่งเกิดเสียงควบคุมการ หายใจเข้า-ออก การกลืนอาหาร และป้องกันท่อลมในระบบทางเดินหายใจ
ประกอบด้วยกระดูกอ่อน 9 ชิ้น ได้แก่
Cricoidcartilage 1 ชิ้น
Epiglottis 1 ชิ้น
Arytenoidcartilage 1 คู่
Thyroid cartilage 1 ชิ้น
Corniculate cartilage 1 คู่
Cuneiform cartilage 1 คู่
Muscle of larynx
กล้ามเนื้อกลุ่ม intrinsic muscle ของ larynx จะเชื่อมพวก cartilage plate เข้าด้วยกันและทำให้เกิด tension ของ vocal fold สำหรับเปิดและปิด glottis
กล้ามเนื้อกลุ่ม extrinsic muscles จะมี origin จาก extralaryngeal structure มาเกาะที่ cartilage ของ larynx มีหน้าที่เคลื่อน larynx ระหว่างที่มีการกลืน (deglutition)
Trachea
ประกอบด้วยกระดูกอ่อนเป็นรูปวงแหวน คล้ายตัว C จำนวน 16-20 ชิ้น
เริ่มจากส่วนปลายสุดของ larynx (C6) จนถึงจุดแยกเป็น bronchus ซ้าย ขวา (T5) เรียกมุมนี้ว่า carina anglev
ตั้งอยู่ด้านหน้าของหลอดอาหาร
Bronchial tree
Trachea
Primary (main) bronchi (Rt. and Lt.)
Secondary (lobar) bronchi
Tertiary (segmental) bronchi
1 more item...
ภายในหลอดลมบุด้วยเยื่อเมือกและมีขนเล็ก ๆ (Cilia) และ Goblet cells ทำหน้าที่ผลิตเมือก
Pharynx
เริ่มตั้งแต่ base of skull ลงไปจนถึงกระดูกคอชิ้นที่ 6 (C6) ทำหน้าที่เป็นทางผ่านของอากาศ และอาหาร
มีโครงสร้างแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่
Oropharynx
วางตัวอยู่ด้านหลังช่องปาก
เริ่มจาก soft palate ลงไปถึงระดับของกระดูก hyoid
พบ Palatine tonsils และ lingual tonsils
Laryngopharynx
อยู่ด้านหลังกล่องเสียง
เริ่มตั้งแต่ระดับ hyoid ไปจนถึงระดับ cricoid
เปิดเข้าสู่กล่องเสียงด้านหน้า และเข้าสู่หลอดอาหารทางด้านหลัง
Nasopharynx
มีรูเปิดของ Eustachian’s tube
พบ Pharyngeal tonsil (adenoid)
เป็นส่วนบนสุดของคอหอยวางตัวอยู่หลังโพรงจมูกลงมาถึงเพดานอ่อน (soft palate)
Bronchus (bronchi)
Nose/Nasal cavity
ถูกแบ่งออกเป็น 2 ช่อง โดย nasal septem ซึ่งเป็นส่วนของ septal cartilage
และได้รับการค้ำจุนโดยกระดูก ethmoid maxillary และ inferior conchae
โพรงจมูกแบ่งได้เป็น 3 บริเวณ คือ
Respiratory region
Olfactory region
Vestibule
จมูก เป็นทางเข้าของอากาศ ป้องกันเชื้อโรค
มีเยื่อบุผิว 2 ชนิด คือ
Respiratory epithelium
Olfactory epithelium
Bronchiole
Terminal bronchiole
สายเสียง (Vocal cords)
สายเสียงไม่แท้ (Vestibular fold หรือ False vocal cord)
สายเสียงแท้ (Vocal fold หรือ True vocal cord)
โพรงอากาศ (sinuses)
เกี่ยวข้องกับการช่วยทำให้ลมหายใจอุ่นขึ้น และทำให้เสียงมีความกังวาน
Respiratory part เป็นส่วนที่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างหลอดเลือดฝอยกับถุงลม
ประกอบด้วย
Alveolar duct
Alveolar sac
Respiratory bronchioles
เป็นบริเวณที่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างหลอดเลือดฝอยกับถุงลม
Alveoli
ประกอบด้วย alveoli ประมาณ 20 ถุง (ประมาณ 100 ถุง เรียก 1 functional unit ของปอด)
ปอด (Lungs)
จะมี
Apex อยู่เหนือไหปลาร้าขึ้นไปประมาณ 1.5-2.5 ซม. และอยู่ตรงกับ กระดูกสันหลัง T1
Base อยู่ดิดกระบังลมข้างขวาอยู่ตรงกับกระดูกสันหลัง T10 ข้างซ้าย T11
เยื่อหุ้มปอดปอด (Pleura)
เป็นถุง 2 ชั้น คือ
ชั้นนอกติดกับผนังทรวงอก เรียก parietal pleura
ชั้นในติดกับผิวนอกของปอด เรียก visceral pleura
ลักษณะภายนอก
แบ่งออกเป็น
ปอดขวา (Right lung)
ประกอบด้วย 3 พู (lobe)
Middle lobe
Lower (Inferior) lobe
Upper (Superior) lobe
ร่อง 2 ร่อง ได้แก่
oblique
horizontal fissure
ปอดซ้าย (Left lung
ประกอบด้วย 2 พู (lobe)
Upper (Superior) lobe
Lower (Inferior) lobe
ร่อง 1 ร่อง ได้แก่
oblique fissure
หลอดเลือดที่มาเลี้ยงปอด (Blood supply to the lungs)
มี 2 ระบบ คือ
ระบบ Brochial
ระบบ Pulmonary
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงปอด
anterior และ posterior pulmonary plexus
Parasympatheticจากเส้นประสาท vagus
Sympatheticจาก sympathetic trunk และ cardiac plexus
Bronchus
Visceral efferents from: Vagus nerve
Constrict the bronchioles : Sympathetic system
ปอดมมีโครงสร้างที่ประกอบด้วยถุงลม ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ต่างกัน
Alveolus
โครงสร้างผนังถุงลมจะประกอบด้วยเซลล์เยื่อบุผิวชั้นเดียว แบ่งออกได้ เป็น 3 ชนิด คือ
เซลล์ถุงลมชนิดที่ 1 (type I alveolar cell หรือSquamous epithelial cells) เป็นเซลล์ส่วนใหญ่ของผนังถุงลม
พบ pinocytic vesiclesจำนวนมาก มีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงของสาร surfactant และมีบทบาทในการกำจัดฝุ่นเล็ก ๆ
เซลล์ถุงลมชนิดที่ 2 (type II alveolar cell หรือ Great alveolar) ทำหน้าสร้างสารลดแรงตึงผิว (surfactant) และพบเซลล์ macrophage
สารลดแรงตึงผิว (surface tension and surfactant)
สร้างจาก alveolar type II cell
สร้างในเดือนที่ 4 ของการตั้งครรภ์ และทำหน้าที่ได้ตั้งแต่เดือนที่ 7 ของการตั้งครรภ์
เป็นของเหลวมีส่วนผสมของสารไขมันชนิดหนึ่ง คือ Palmitoyl lecithin
ประโยชน์
ลดการแทรกซึมของของเหลวเข้ามาในถุง
คงสภาพของถุงลม
ช่วยลดแรงตึงผิวของของเหลวบนถุงลม
Capillary endothelial cells
การหายใจ คือ การนำออกซิเจนไปสู่เซลล์ และเอาคาร์บอนไดออกไซด์ออกไปจากเซลล์
กล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
2.การหายใจออกแบบใช้พลังงาน (Forced Expiration)
เป็นการหายใจออกแรงๆ เช่น ในผู้ที่ออกกลังกาย หรือในผู้ป่วยที่มีทางเดินอากาศตีบ แคบ หรือความยืดหยุ่นของปอดผิดปกติ (เช่น ผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพอง)
จำเป็นต้องอาศัยกล้ามเนื้อช่วยหายใจออก ได้แก่
Abdominal muscle
Internal intercostal muscle
3.การหายใจเข้าที่ลึกและแรง
เช่น ขณะออกกำลังกาย ขณะไอ จาม หรือในผู้ป่วยโรคหอบหืด
Sternocleidomastoid
Scalenus
1.การหายใจเข้า ออกแบบปกติ
กล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการหายใจเข้า คือ
Diaphragm
External intercostals muscle