Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้บริการฝากครรภ์ในสภานบริการ - Coggle Diagram
การให้บริการฝากครรภ์ในสภานบริการ
2.1ซักประวัติและบันทึกลงในสมุดบันทึกสุขภาพ
การซักประวัติส่วนบุคคลและประวัติทางสังคม
ชื่อ-สกุล
อายุ (วันเดือนเกิด)
ประจำเดือนและการคุมกำเนิด : วันแรกของประจำเดือนครั้งสุดท้าย (LMP) ความสม่ำเสมอและลักษณะประจำเดือนก่อนหน้านั้น การคุมกำเนิดก่อนการตั้งครรภ์
โรคประจำตัว
ที่อยู่และหมายเลขโทรศัพท์
สถานภาพสมรส
ความพร้อมในการตั้งครรภ์และการเลี้ยงบุตร
การสูบบุหรี่หรือสารเสพติดอื่นๆ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีตและปัจจุบัน
โรคหรือภาวะผิดปกติที่เคยเป็น
วัณโรค โรคหัวใจ โรคไตเรื้อรัง โรคลมชัก โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การติดเชื้อเอดส์
การผ่าตัดอื่นที่นอกเหนือไปจากการผ่าตัดคลอด
การใช้ยาในปัจจุบัน
ประวัติทางสูติกรรม
จำนวนครั้งที่เคยตั้งครรภ์
วัน เดือน ปีของการตั้งครรภ์ครั้งก่อน ผลการตั้งครรภ์แต่ละครั้ง บอกรายละเอียดการคลอดก่อนกำหนด ชนิด ของการแท้งบุตร (ถ้าทราบ)
น้ำหนักทารกแรกเกิด
เพศของทารก
ระยะเวลาของการให้นมแม่อย่างเดียว เมื่อใด และให้นานเท่าใด
ภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์และการคลอดครั้งก่อน
การแท้งบุตรเป็นอาจิณนไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์
การทำแท้งและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
โรคหลอดดันโลหิต ภาวะ pre-eclampsia หรือ eclampsia
รกลอกตัวก่อนกำหนด (placental abruption)
รกเกาะต่ำ (placenta previa)
การคลอดท่าก้น (breech หรือท่าขวาง (transverse presentation)
การตกเลือด
การติดเชื้อหลังคลอด (puerperal sepsis)
ภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (gestational diabetes)
ประวัติการผ่าตัดทางสูติกรรม
1.การใช้คีมช่วยคลอด หรือการใช้เครื่องดูดสูญญากาศ
การล้วงรก (manual removal of the placenta)
การผ่าตัด caesarean section
การเกิดภาวะแทรกซ้อน
การตั้งครรภ์แฝดสอง หรือมากกว่า
ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (low birth weight)
คลอดทารกที่มีรูปร่างพิการโครโมโซมผิดปกติแต่กำเนิด
ทารกแรกคลอดน้ำหนักมากกว่า 4,500 กรัม (macrosomia)
ประวัติทารกตายในระยะปริกำเนิด (ตายคลอด ทารกตาย (หรือเสียชีวิตภายหลัง)
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
2.2ตรวจร่างกาย
ชั่งน้ำหนัก (กิโลกรัม) และความสูง (เมตร) เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ
วัดความดันโลหิต
ฟังเสียงการหายใจและเสียงหัวใจ
ตรวจดูอาการบวม
ท่าเด็ก ระดับส่วนนำเด็ก เสียงหัวใจเด็ก (เมื่ออายุครรภ์ 20 สัปดาห์ขึ้นไป) สังเกตการเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์
วัดความสูงของยอดมดลูก (เชนติเมตร)
ตรวจภายในเพื่อหาความผิดปกติและการติดเชื้อในช่องคลอด (โดยใช้ speculum หากหญิงตั้งครรภ์สมัครใจและไม่มีข้อห้าม)
2.3 ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจหมู่เลือดชนิด ABO และ Rh
การตรวจทางโลหิตวิทยา เพื่อดูค่า hemoglobin และ hematocrit
การตรวจคัดกรองภาวะการติดเชื้อซิฟิลิส (syphilis) : VDRL
การตรวจคัดกรองการติดเชื้อไวรัส HIV
การตรวจคัดกรองการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี : HBsAg
การตรวจหาโปรตีนและน้ำตาลในปัสสาวะ โดยตรวจปัสสาวะ : ทำการตรวจ Multiple dipstick test เพื่อคัดกรองภาวะ asymptomatic bacteriuria และตรวจไข่ขาว (proteinuria) ทุกราย
การตรวจคัดกรองโรคธาลัสซีเมีย : MCV, DCIP, Hb typing
2.4ประเมินภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์
คลินิก High risk
แนวทางการดูแล
หญิงตั้งครรภ์เสี่ยงและข้อกำหนดในการส่งต่อ
โรคธาลัสซีเมีย
ดาวน์ซินโดรม
ภาวะพร่องไทรอยด์แต่กำเนิด
คัดกรองเบาหวาน
เลือดออกทางช่องคลอด
ยอดมดลูกไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์
2.5 การให้บริการตามมาตราฐาน
Multiple dipstick
ตรวจปัสสาวะ เพื่อคัดกรองภาวะ Asymptomatic bacteriuria
Nitrite
Leucocyte
Proteinuria
Glucosuria
ตรวจภายในตรวจครั้งแรก
เพื่อตรวจความผิดปกติและการติดเชื้อในช่องคลอด
อัลตร้าซาวด์
เพศทารก
ความผิดปกติชองทารก
รก
มาตรฐานการตรวจและประเมินอายุครรภ์
คาดคะเนอายุครรภ์
LEP- 3 เดิอน + 7 วัน
การให้คำปรึกษาคู่
ประเมินความเครียด
แบบประเมิน ST-5 และ 2Q
ฉีดวัคซีน
บาดทะยักตามมาตรฐาน (dT)
ให้ฉีดวัคซีน 3 เข็ม เข็มแรก เมื่อมาฝากครรภ์ นัดฉีดเข็มที่ 2 ห่างจาก เข็มแรกอย่างน้อย 1 เดือน และเข็มที่ 3 ห่างจากเข็มที่ 2 อย่างน้อย 6 เดือน จากนั้นให้กระตุ้นทุก 10 ปี
วัคซีนไข้หวัดใหญ่
ตรวจร่างกาย
ซีด
ตา ใหัแม่เปิดตาแล้วมองขึ้นไปด้านบนนะคะ ไม่พบเยื่อบุตาซีด ไม่มีปลายมือปลายเท้าเขียว เย็น
ชั่งน้ำหนักส่วนสูง
ตรวจปัสสาวะ
v/s
คอ
คลำไม้พบต่อมไทรอยด์โต ไม่มีการกดเจ็บบริเวณคอไม่มีน้ำเหลืองโต
หัวใจ ไม่พบเสียง murmur เสียงการเต้น สม่ำเสมอ2+
ปอด หายใจเข้าปกติเลยนะคะ ไม่พบเสียงcrepitatin wheezing หายใจ ไม่หอบเหนื่อย
เต้านม หัวนมสีน้ำตาลนุ่ม ไม่บุ่ม ไม่บอด ไม่แตก ขวายาว 1.2 cm ซ้าย 1.4cm เต้านมเท่ากันทั้ง2ข่าง คลำไม่พบก้อน ลานนมกว้าง 3 cm เท่ากัน 2ข้าง
ขา ไม่มีเส้นเลือดขดที่ขา มีลักษณะบวม pitting edema 2+ กดบุ่มแล้วผิวจะคืนตัว
ท้อง
ดู หน้าท้องมีขนาดไม่ใหญ่ ผิวแห้ง มีหน้าท้องแตกลายที่เรียกว่าstriae gravidarum และมีเส้นดำตรงกลาง ที่หน้าท้องเรียกว่า Linea nigra ยอดมดลูกอยู่ระดับ 1/4 เหนือสะดือ ทารกอยู่ในแนว oblique lie ทำตัวเฉียงกับตัวมารดา ท่า Breech presentation ตำแหน่ง LBP
คลำ
Fundal grip ใช้มือหนึ่งคำที่ยอดมดลูกและอีกมือหนึ่งแตะที่บริเวณลิ้นปี่แล้วดูว่าระดับรวดเร็วเพิ่งอยู่เป็นสัดส่วนใดของหน้าท้อง
เพื่อดูระดับเพื่อดูมดลูกและเด็กอยู่ในท่าไหนซึ่งครรภ์นี้ถ้าลูกอยู่ในถ้าส่วนนำเป็นท่าหัว ระดับยอดมดลูกอยู่ที่หนึ่งส่วนสี่เหนือสะดือ
-Umbilical grip
เพื่อดู Last pars small past ซึ่งทารกในครรภ์นี้ มีsmall part ส่วนแขนขา อยู่ด้านขวามารดา และด้านหลังอยู่ทางด้านซ้าย
pawlik’s grip
เพื่อดูส่วนนำ และ engament ในเคสคลำด้วยมือขวาโยกไปมา ในครรภ์นี้สามาถเคลือนไหวได้ แสดงว่า ศีรษะทารกไม่เข้าเชิงกราน ซึ่งสัมผัสผิวของท้องตำแหน่งทารกมีลักษณะนุ่ม แสดงว่าส่วนนำเป็น ก้น
Bilateral inguinal grip
เพื่อดู ทรงการนอนตะแคงหรือหงายของทารก และ Engatment ที่ตำแหน่ง Inguanal ring พบศีรษะทารกไม่เคลื่อนเข้าอุ้งเชิงกราน
FSH
NST ประเมิน หัวใจลูกและการหดรัดตังของ มดลูก ใช้ เวลา 20 นาที