Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ทฤษฎีทางการพยาบาลจิตเวช ในการดูแลผู้ป่วย, นางสาวซาฟีกาห์ บินสตอปา…
การใช้ทฤษฎีทางการพยาบาลจิตเวช
ในการดูแลผู้ป่วย
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของซัลลิแวน
พฤติกรรมและบุคลิกภาพของมนษุย์เป็นผลมาจาก
สัมพันธภาพระหว่างบุคคลเท่านั้น
การบําบัดตามแนวคิดทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลจึง
มุ่งเน้นการสร้างสัมพันธภาพเชิงบําบัดด้วยการให้บุคคล
ตระหนักถึงความสําคัญของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
สมาชิกในครอบครัว เพื่อน เป็นต้น
การประยุกต์ใช้ทาง
การพยาบาลจิตเวช
ให้ผู้ป่วยได้มีประสบการณ์ในด้านสัมพันธภาพอย่างถูกต้อง
กับผู้บําบัดก่อน ผู้บําบัดจะต้องสร้างความจริงใจ เชื่อถือได้ให้
กับผู้ป่วย
ระบบความเป็นตนเอง
Good me ฉันดี
Bad me ฉันเลว
Not me ไม่ใช่ฉัน
ซิกมันต์ ฟรอยด
มีความเชื่อเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ว่า พฤติกรรมทุกอย่างมีความหมายและไม่ได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญ พฤติกรรมเกิดจากแรงผลักดันของสัญชาตญาณพื้นฐานอยู่ในจิตใต้สำนึก (Unconscious) ได้แก่
สัญชาตแห่งการมีชีวิตรอดและสัญชาตญาณแห่งการทำลาย
การประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลจิตเวช
มุ่งเน้นการแก้ไขพฤติกรรมด้วยการเจาะลึกถึงจิตใต้สํานึกและจิตไร้สำนึกหรือสัญชาตญาณดั้งเดิม สัมพันธภาพเชิงบําบัดในลักษณะของความไว้
วางใจ(Trust) ปลอดภัย(Safe) และเชื่อมั่น(Confidence) ร่วมกับมุ่งเน้นการปรับสมดุลระหว่าง Id,Ego และ Super ego ด้วย
ทฤษฎีจิตสังคมของอิริคสัน
แบ่งพัฒนาการทางสังคม
ของบุคคลไว้ 8 ขั้น
กล่าวถึงพัฒนาการที่
สมบูรณ์และไม่สมบูรณ์
ขั้นที่2 ความเป็นตัวของตัวเองอย่างอิสระ – ความสงสัยไม่แน่ใจตัวเอง (Autonomous vs Shame and Doubt)
ขั้นที่3 การเป็นผู้คิดริเริ่ม – การรู้สึกผิด (Initiative vs Guilt)
ขั้นที่4 ความต้องการที่จะทำกิจกรรมอยู่เสมอ – ความรู้สึกด้อย
(Industry vs Inferiority)
ขั้นที่5 อัตภาพหรือการรู้จักว่าตนเองเป็นเอกลักษณ์ – การไม่รู้จักตนเองหรือ
สับสนในบทบาทในสังคม (Ego Identity vs Role Confusion)
ขั้นที่6 ความใกล้ชิดผูกพัน – ความอ้างว้างตัวคนเดียว (Intimacy vs
Isolation) วัยนี้เป็นวัยผู้ใหญ่ระยะต้น (Young Adulthood)
ขั้นที่1 ความไว้วางใจ – ความไม่ไว้วางใจ (Trust vs Mistrust)
ขั้นที่7 ความเป็นห่วงชนรุ่นหลัง – ความคิดถึงแต่ตนเอง (Generativity vs Stagnation)
ขั้นที่8 ความพอใจในตนเอง – ความสิ้นหวังและความไม่พอใจ
ในตนเอง (Ego Integrity vs Despair)
การประยุกต์ใช้ทาง
การพยาบาลจิตเวช
การนําความรู้จากทฤษฎีมาทําความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนา
บุคลิกภาพของบุคคลในแต่ละช่วงวัยและให้ความรู้แก่ผู้เลี้ยงดู
ผู้เกี่ยวข้องในการสนองความต้องการทางสังคมให้แก่ผู้ป่วยได้
อย่างเหมาะสม
ทฤษฎีทางพฤติกรรมนิยม
เชื่อว่าพฤติกรรมเกิดจากการเรียนรู้
ไม่ใช่เกิดจากแรงผลักดันภายใน
แนวทางการบําบัดรักษา
Classical (Respondent) Conditioning ใช้หลักการ เรียนรู้แบบวางเงื่อนไขของพาฟลอฟ (Pavloy) และวัตสัน (Watson)
โดยการนําสิ่งเร้า 2 อย่างจับคู่กันเพื่อให้เกิดพฤติกรรมใหม่ที่เหมาะสม
Systematic Desensitization ของวอลเป (Wolpe)
เป็นการนําสิ่งเร้าที่ทําให้กังวลกลัวกับสิ่งเร้าที่ทําให้
ผ่อนคลายมาจับคู่กัน
Operant Conditioning ของ Skinner
เป็นการให้สิ่งเร้าที่เป็นแรงเสริม เพื่อให้เกิดพฤติกรรม
ใหม่ที่เหมาะสม หรือลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ต่างๆ
การประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลจิตเวช
ใช้ในการปรับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ของผู้ป่วยโดยใช้การเสริม แรงชนิดต่างๆ (รางวัล คำชมเชย เบียอรรถกร
(Token economy ฯลฯ )
ทฤษฎีทางชวีภาพทางการแพทย์
ทฤษฎีนี้มีความเชื่อว่าความเจ็บป่วยทางจิต
มีสาเหตุมาจากพยาธสิภาพของสมอง
การรักษาตามแนวคิดทฤษฎีทางชีววิทยาทางการแพทย์
มีรูปแบบเช่นเดียวกับการรักษาโรคฝ่ายกาย เช่นการรักษาด้วยยา การรักษาด้วยไฟฟ้า การผ่าตัดสมองเพื่อลดอาการทางจิตต่างๆ
ทฤษฎีมนุษย์นิยม
มาสโลว์
เชื่อว่าธรรมชาติของมนุษย์เกิดมาดี
และพร้อมที่จะทําสิ่งดี ถ้าได้รับการ
ตอบสนองความต้องการพื้นฐานเพียงพอ
ลำดับความต้องการ 5 ขั้น
ความสมบูรณ์ของชีวิต (self-actualization)
ความเคารพนับถือ (esteem)
มิตรภาพและความรัก (friendship and love)
ความมั่นคงปลอดภัย (security)
ความต้องการทางกายภาพ (physiological)
โรเจอร์
ตัวตนของบุคคล
1.Self concept ตัวตนที่ตนมองเห็น
2.real self ตัวตนตามที่เป็นจริง
3.ideal self ตัวตนตามอุดมคติ
การที่บุคคลเกิดความไม่สอดคล้องระหว่างความคิด
กับสิ่งที่ปรากฏจริงในขณะนั้นความรู้สึกเขาถูก
บิดเบือนไปจากความเป็นจริง
การประยุกต์ใช์ทาง
การพยาบาลจิตเวช
เป็น Partner ที่จะเดินเคียงข้าง
กันกับผู้ป่วยในการจัดการปัญหา
ใช้กระบวนการรักษาเน้นที่ทัศนคติ
ของผู้ให้การบําบัดต่อผู้ป่วย
บริการ 3 ประการหลัก
Genuiness (ความจริงใจต่อตนเองและผู้ป่วย
Empathy(Empathicunderstanding)ความเห็นอกเห็นใจ
Unconditional positive regard (Acceptance and respect) การยอมรับผู้ป่วยโดยปราศจากเงื่อนไข
ทฤษฎีทางการพยาบาล
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม
สนับสนุนผู้ที่มีปัญหาสุขภาพให้สามารถ
ดูแลตนเอง (Self-care)ให้สมบูรณ์
โดยใช้ศาสตร์และศิลป์รวมทั้ง
เทคโนโลยีในการดูแลช่วยเหลือ
การประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลจิตเวช
การส่งเสริมให้สามารถดูแลตนเอง
ประเมินความต้องการในการดูแลตนเอง
ความสารถในการดูแลตนเอง
ประเมินความพร่องการดูแลตนเองอยู่ระดับใด
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
เน้นการทํางานในร่างกายทั้งภายในและภายนอก
อย่างมีระบบ มีระบบย่อยในระบบใหญ่ มีการปรับ
ตัวให้คงสภาวะสมดุล
การประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลจิตเวช
การพยาบาลควรประเมินความ
สามารถในการปรับตัว 4 ด้าน
การประเมินสภาวะหรือประเมินสภาพ
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผล
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่าง
บุคคลของเพบพาว
การสร้างสัมพันธภาพที่แน่นอนระหว่างบุคคลที่จะสามารถทําให้บุคคลเกิดการเรียนรู้และมีประสบการณ์ที่กว้างไกล
ทฤษฎีความสําเร็จตามจุด
มุ่งหมายของ King's theory
มองบุคคลเป็น 3 ระบบ บุคคล, ระหว่างบุคคล,
สังคม เน้นบทบาทของพยาบาลในการบริการ
แก่บุคคลในลักษณะองค์รวม อาศัยปฏิสัมพันธ์
กับบุคคลในการนําไปสู่เป้าหมายของการให้
การพยาบาล
นางสาวซาฟีกาห์ บินสตอปา เลขที่17
รหัสนักศึกษา 62126301019