Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2แนวคิดนักคิดทางตะวันตกและตะวันออก - Coggle Diagram
บทที่2แนวคิดนักคิดทางตะวันตกและตะวันออก
แนวคิดของฟริตจ๊อป คาปรา (Frifjof Capra)
วิธีคิดอย่างเป็นระบบ (Systems
Thinking)
หนังสือ แปลเป็นไทยชื่อเต๋าแห่งฟิสิกส์
ทฤษฎีระบบ (Systems Theory)
แนวคิดของปีเตอร์ เอ็ม. เซ้งเก้ (Peter M.Senge)
เป็นผู้นำการคิดอย่างเป็นระบบ (Systems thinking)
มาประยุกต์ใช้กับระบบบริหารและการสร้างสภาวะผู้นำ
วินัย 5 ประการสำหรับการพัฒนาองค์การเรียนรู้
ความสามารถในการจัดการเรียนรู้มี 3 ประการหลัก
ความตั้งใจที่จะทำสิ่งดีๆ ให้เกิดขึ้น (Aspiration)
การพัฒนาตนเองให้เป็นมนุษย์ที่แท้ (Personal mastery)
การทำความเข้าใจ “สาระชีวิต”
ฝึกมองโลกตามความเป็นจริง
การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน (Shared vision)
การสนทนาอย่างครุ่นคิด (Dialogue)
ภาพจำลองความคิด (Mental model)
การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Leaning)
การเข้าใจโลกและระบบที่ซับซ้อน
แนวคิดของ โจเซฟ โอ คอนเนอร์ และ แลน แมคเดอร์มอทท์ (Joseph O’Connor & Lan
McDermott)
ได้เขียนหนังสือชื่อ “The Art of Systems Thinking”
ซึ่งแปลเป็นภาษาไทย “หัวใจนักคิด”
Models)วิธีคิดและวิธีเขียนแม่แบบในระบบ (Systems
Archetypes) อย่างง่าย ๆ ที่จะช่วยให้ทุกคนเข้าใจตนเอง
Virginia, USA ได้เขียนถึงหนังสือ “The Art of Systems Thinking”
แนวคิดของ แบรี่ ริสมอนด์ (Barry Richmond)
แบรี่ ริสมอนด์เขียนหนังสือชื่อ “Systems thinking: criticalthinkingskills for the 1990s
เพื่อหารากของปัญหา
เราต้องพัฒนาระบบการศึกษาใน 3 มิติ
กระบวนการศึกษา
กระบวนทัศน์ทางความคิด
อุปกรณ์การเรียน
การคิดแบบแยบคาย (โยนิโสมนสิการ)
“โยนิโสมนสิการ” หรือ กระบวนการคิดอย่างแยบคาย
โยนิโสมนสิการ กระบวนการพัฒนาปัญญาตามแนวพุทธ
คิดถูกวิธี มีอุบายในการคิด (อุบายมนสิการ)
คิดมีระเบียบ คิดถูกทาง (ปถมนสิการ) คิดได้ต่อเนื่องเป็นลำดับ มีลำดับ
คิดเทียบเหตุผล (การมนสิการ) คิดอย่างมีเหตุผล
คิดเร้ากุศล (อุปปาทกมนสิการ) หมายถึง การคิดให้เกิดผลที่พึงประสงค์