Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่6 การศึกษาการดำเนินชีวิตของผู้มีส่วนเสีย - Coggle Diagram
หน่วยที่6 การศึกษาการดำเนินชีวิตของผู้มีส่วนเสีย
ความหมายของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) หมายถึง กลุ่มหรือบุคคลที่มีผลกระทบและ/หรือ ได้รับผลกระทบจากกิจกรรมทั้งหมด ขององค์ และเป็นบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ช่วยกำหนด
ประโยชน์ของการเชื่อมโยงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
3.ก่อให้เกิดความเข้าใจในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่สลับซับซ้อน
4.ทำให้องค์กรสามารถเรียนรู้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
2.ก่อให้เกิดการผสมผสานรวมกันของทรัพยากร
5.ให้ข้อมูล ความรู้ และสร้างอิทธิพลต่อผู้มีส่วนได้เสียเสีย
1.สามานำไปสู่การพัฒนาสะงคมอย่างเท่าเทียมและยังยืนกว่า
6.สร้างความเชื่อถือระหว่างองค์กรกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ประเภทของผู้มีส่วนได้เสีย
3.พนักงาน (Employee)
4.ผู้ผลิตสินค้า (Supplier)
2.ผู้บริโภค (Consumer)
5.ผู้มีส่วนได้เสียรอง (Second stakeholder)
1.คู่แข่ง (Competitor)
พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของบริโภค
2.ระดับการสนับสนุน(contridution)
3.ระดับการร่วมกันสร้างสรรค์(Co-creaion)
1.ระดับการบริโภค(Consuming)
การศึกษาการดำเนินชีวิตของผู้มีส่วนเสีย
ธุรกิจส่วนใหญ่ได้ดำเนินการผนวกกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียนี้ เข้าเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินธุรกิจ โดยกำหนดผู้มีส่วนได้เสียและวิธีการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนร่วมนั้น ขึ้นอยู่กับระดับความสำคัญและผลกระทบที่มีต่อกัน ทัั้งนี้การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียมีหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่การพบประพูดคุยแบบไม่เป็นทางการ การปรุชุม สัมมนา จนถึงการจัดการจัดทำแบบสำรวจเพื่อประเมินผล และการทำแบบสอบถามเพื่อให้มั่นใจว่าได้มีการดำเนินการให้เป็นไไปตามความต้องการหรือความคาดหวังของกลุ่มผู้มีส่วนได้เลีย
กระบวนการการสร้างโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
2.การมีส่วนร่วมในการพัฒนาและร่วมกันปฏิบัติการ
3.การมีส่วนร่วมด้วยประโยชน์ที่เกิดขึ้นและได้รับ
1.การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห้นและตัดสินใจ
4.การมีส่วนร่วมในการติดตาม ตรวจสอบ
มิติของการมีส่วนร่วมของแบรนด์
2.การสื่อสาร
3.ประสบการณ์
1.การรับรู้
4.คำมั่นสัญญา
ผู้มีส่วนได้เสียกับแบรนด์(Brand Stakeholders)
1.กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน
2.กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก
แนวทางการเชื่อมโยงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Stakeholder Engagement Concepts)
ปัจจุบันภาคธุรกิจถูกคาดหวังจากสังคมว่า ควรมีบทบาทมากขึ้นกว่าแต่ก่อนเนื่องจากการดำเนินการของธุรกิจนั้นส่งผลกระทบทั้งทางด้านเศรษฐกิจสังคม และสิ่งแวดล้อม ขึ้งเป็นไปได้ตั้งแต่ในระดับท้องถิ่น จนถึงระดับโลกนอกจากนี้ในหลายๆ กรณีจากกระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ(Privatization) และการเติบโตขึ้นอย่างมากของจำนวนองค์กรประเภทรัฐร่วมกับ เอกชน (Public-private partnerships) ได้เพิ่มบทบาทขององค์กรภาคธุรกิจให้ใกล้เคียงกับองค์กร ภาครัฐมากขึ้น
แนวทางการเชื่อมโยงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Engagement Concepts)
การตอบสมองต่อทบาททางภาคธุรกิจที่เพิ่มขึ้นในสังคมนี้ ทำให้สมาชิกและบุคคลที่ เกี่ยวข้องที่ได้รับผลกระทบจากการดำเนินธุรกิจหรือผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย (stakeholder) เริ่มอ้างสิทธิของการรับรู้ การเป็นที่ปรึษาและความเกี่ยวข้องในการตัดสินมางธุรกิจ(Corporate decision-making) มากขึ้น