Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปสาระการเรียนรู้วันที่ 9 ธ.ค.2564 - Coggle Diagram
สรุปสาระการเรียนรู้วันที่ 9 ธ.ค.2564
EFM
Electronic fetal monitoring (EFM)
ในการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนไม่มีข้อมูลสนับสนุนว่าการใช้EFM จะมีประโยชน์เหนือกว่าการฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์แบบintermittent auscultation
การแปลผลFHR patternในระยะคลอดต้องพิจารณาองค์ประกอบ คือ
1.การหดรัดตัวของมดลูก
3.FHR variability
2.Baseline FHR
4.การมีacceleration
5.Periodic หรือ episodic deceleration
การเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบข้างต้นในช่วงเวลาที่ผ่านมา
FHR tracing ปกติ
FHR tracing ผิดปกติ
variable deceleration
Late deleleration
Early deceleration
วิธีแก้ไขการทำ intrauterineresuscitationสำหรับFHRtracing
จัดท่าให้มารดานอนตะแคงซ้ายหรือขวา
ให้ออกซิเจนแก่มารดา
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ตรวจดูว่ามารดามีความดันโลหิตต่ำหรือไม่
หยุดยากระตุ้นการหดรัดตัวของ มดลูก เช่น oxytocin, misoprostol
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกว่ามีtachysystoleหรือไม
prom
ภาวะน้ำเดินก่อนกำหนด ทางการแพทย์เรียกว่า Premature rupture of membranes : PROM คือ ภาวะที่ถุงน้ำคร่ำรั่ว หรือแตกเองก่อนมีการเจ็บครรภ์คลอด
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของภาวะน้ำเดินก่อนกำหนด
ประวัติน้ำเดินก่อนกำหนดในครรภ์ก่อน โดยเฉพาะก่อนอายุครรภ์ครบกำหนด
การติดเชื้อในระบบอวัยวะสืบพันธุ์ เช่น ปากมดลูก ช่องคลอด และปากช่องคลอด
ภาวะเลือดออกทางช่องคลอด เช่นในรายที่คุณแม่มีประวัติเลือดออกในไตรมาสแรก โดยเฉพาะถ้ามีเลือดออกบ่อยๆ
สูบบุหรี่ จะเพิ่มความเสี่ยงสูง 2-4 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับผู้ที่ไม่สูบบุหรี่
การวินิจฉัยและการรักษาภาวะน้ำเดินก่อนกำหนด
เริ่มจากการซักประวัติว่าคนไข้มีอาการน้ำไหลออกจากช่องคลอดก่อนเข้าสู่ระยะคลอดบ้างหรือไม่ จากนั้นก็ตรวจร่างกายเพื่อดูน้ำที่ไหลออกจากช่องคลอด
ให้คนไข้ออกแรงไอหรือเบ่งก็จะเห็นน้ำไหลออกจากปากมดลูก
cough test
Nitrazine paper test
Fern test
การรักษา อาการน้ำเดินก่อนกำหนด
ภาวะน้ำเดินก่อนกำหนดซึ่งเป็นภาวะครรภ์เสี่ยงแล้ว แพทย์ก็จะให้คนไข้ admit จนกว่าจะคลอด แนวทางการดูแลรักษาก็ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย
อายุครรภ์
การติดเชื้อของคุณแม่ตั้งครรภ์
อาการเจ็บครรภ์
ท่าทางและการเต้นของหัวใจของทารกในครรภ์
การเปิดของปากมดลูก
คลีนิกSTD
หนองใน (Gonorrhea)
อาการของหนองใน
ชาย
มีหนองสีเหลืองหรือเขียวไหลออกมาจากส่วนปลายของอวัยวะเพศ โดยอาจเกิดขึ้นหลังการมีเพศสัมพันธ์ เจ็บหรือแสบขณะปัสสาวะเกิดการอักเสบของหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ
หญิง
มีตกขาวผิดปกติขับออกมาจากช่องคลอด ลักษณะเป็นน้ำ หรือเส้นบาง ๆ สีออกเขียวหรือเหลือง หรือตกขาวมีปริมาณมากขึ้น ปัสสาวะแล้วรู้สึกเจ็บหรือแสบ เจ็บหรือฟกช้ำบริเวณท้องน้อย แต่พบได้ไม่บ่อย
ปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อหนองใน
เปลี่ยนคู่นอนบ่อย
ไม่ใช้ถุงยางอนามัยขณะมีเพศสัมพันธ์
เคยตรวจพบว่าเป็นโรคหนองในมาก่อน
เสี่ยงต่อติดเชื้อเอชไอวีหรือเชื้อเอดส์
จากการเข้าสู้บาดแผลผ่านทางเนื้อเยื่อ
มะเร็งปากมดลูก (HPV)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อฮิวแมนแป๊ปปิโลม่าไวรัส (Human papilloma virus = HPV)
มีคู่นอนหลายคน ทำให้มีโอกาสได้รับเชื้อ HPV มากขึ้น
อายุ ส่วนใหญ่มะเร็งปากมดลูกมักพบในผู้ที่อายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป
มีบุตรจำนวนมาก
ร่างกายมีภูมิคุ้มกันบกพร่อง (โรคเอดส์)
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง เช่น การมีคู่นอนหลายคน
การมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุน้อย
การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน
ตรวจคัดกรองความผิดปกติของปากมดลูก โดยการตรวจแพปสเมียร์ (Pap Smear) และ การตรวจหาเชื้อ HPV
การฉีดวัคซีนป้องกันการติดเชื้อ HPV
ผู้ใหญ่
ฉีดทั้งหมด 3 เข็ม
เข็มแรก ฉีดเข้าที่กล้ามเนื้อ
เข็มที่ 2 ฉีดห่างจากเข็มแรก 1 - 2 เดือน
เข็มที่ 3 หลังจากฉีดเข็มแรก 6 เดือน
เด็ก ป.5
เข็มแรกฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
เข็มที่ 2 ห่างจากเข็มแรก 6 เดือน
ซิฟิลิส (Syphilis)
อาการของซิฟิลิส
ระยะที่ 1 (Early/Primary Syphilis) จะเกิดแผลขนาดเล็กบริเวณที่ได้รับเชื้อ ก้นขอบแผลมีลักษณะเรียบและแข็งที่เรียกว่า แผลริมแข็ง (Chancre) โดยเฉพาะตามอวัยวะเพศและริมฝีปากหลังการได้รับเชื้อประมาณ 3 สัปดาห์ แต่ก็อาจพบอาการได้ในช่วง 10-90 วัน มักไม่มีอาการเจ็บปวดและจะค่อย ๆ หายไปได้เองภายใน 6 สัปดาห์แม้ไม่ได้รับการรักษา
ระยะที่ 2 (Secondary Stage) โรคจะเริ่มพัฒนาจากระยะแรกใช้เวลาประมาณ 1-3 เดือน ผู้ป่วยจะเริ่มเกิดผื่นที่มีลักษณะตุ่มนูนคล้ายหูดขึ้นตามบริเวณฝ่ามือและฝ่าเท้า อวัยวะเพศ หรือส่วนอื่นของร่างกาย เช่น ขาหนีบ ทวารหนัก ภายในช่องปาก
ระยะที่ 3 (Tertiary Syphilis) หากผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องจะทำให้โรคพัฒนามาจนถึงระยะสุดท้ายที่ก่อให้เกิดความผิดปกติและภาวะแทรกซ้อนที่หัวใจ สมอง เส้นประสาท หรืออวัยวะหลายส่วนของร่างกายเมื่อเชื้อไปอยู่ในบริเวณนั้น ซึ่งจะนำไปสู่โรคต่าง ๆ เช่น อัมพาต ตาบอด ภาวะสมองเสื่อม หูหนวก ไร้สมรรถภาพทางเพศ โรคหัวใจ เสียสติ และมีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตได้
สาเหตุ
การใช้เข็มฉีดยารวมกับผู้อื่น
การรับเลือดจากผู้อื่น
การวินิจฉัย
การตรวจเลือด
การเก็บตัวอย่างเชื้อไปตรวจ (Swab Test)
การรักษาซิฟิลิส
ผู้ป่วยระยะที่ 1-2 จะฉีดเบนซาธีน เพนิซิลลิน จี ขนาด 2.4 ล้านยูนิต เข้ากล้ามเนื้อให้ผู้ป่วย 1 ครั้ง
ผู้ป่วยระยะแฝงหรือระยะที่ 3 จะฉีดเบนซาธีน เพนิซิลลิน จี ขนาด 2.4 ล้านยูนิต เข้ากล้ามเนื้อให้ผู้ป่วยสัปดาห์ละ 1 ครั้งติดต่อกัน 3 สัปดาห์
เสี่ยงต่อการได้รับเชื้อเอชไอวี (HIV) ได้ง่ายมากขึ้นผ่านทางแผลตามร่างกายเมื่อเทียบกับคนปกติที่ไม่เป็นโรคซิฟิลิส
ไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B)
สาเหตุการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
การมีเพศสัมพันธ์กับคนที่มีเชื้อโดยไม่ได้สวมถุงยางอนามัย
การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน
การใช้เข็มสักตามตัวหรือสีที่ใช้สักตามตัวร่วมกัน และการเจาะหู
การใช้แปรงสีฟัน มีดโกน ที่ตัดเล็บร่วมกัน
การติดเชื้อขณะคลอดจากแม่ที่มีเชื้อ (ถ้าแม่มีเชื้อลูกมีโอกาสได้รับเชื้อ 90%)
ให้ลูกกินนมได้แต่ต้องหัวนมไม่แตกเลือดไหล
การถูกเข็มตำจากการทำงาน
การสัมผัสกับเลือด น้ำเลือด น้ำคัดหลั่ง โดยผ่านเข้าทางบาดแผล
การป้องกันการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
ฉีดวัคซีนป้องกัน โดยผู้ที่ควรฉีดวัคซีนมากที่สุดคือ เด็กแรกเกิด
ผู้ที่อยู่ในครอบครัวที่เป็นพาหะ ควรตรวจเลือดเพื่อทราบถึงภาวะของการติดเชื้อก่อนการฉีดวัคซีน การฉีดวัคซีนต้องฉีดให้ครบชุดจำนวน 3 เข็ม
อาการของโรคไวรัสตับอักเสบบี
แบ่งได้เป็น 2 ระยะ คือ
ระยะเฉียบพลัน
ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการภายใน 1-4 เดือนหลังติดเชื้อ ดังนี้
อาการไข้ ตัวเหลืองตาเหลือง ปวดท้องใต้ชายโครงขวา
อาการอื่นๆ ได้แก่ คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ผื่น ปวดข้อ
ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการรุนแรง เกิดจากการที่เซลล์ตับถูกทำลายเป็นจำนวนมาก ในกรณีนี้อาจทำให้เกิดภาวะตับวายได้
อาการตับอักเสบระยะเฉียบพลันจะดีขึ้นใน 1-4 สัปดาห์ และจะหายเป็นปกติเมื่อร่างกายสามารถกำจัดและควบคุมเชื้อไวรัสตับอักเสบได้ ซึ่งมักใช้เวลาไม่เกิน 3 เดือน
ระยะเรื้อรัง
ระยะเรื้อรังแบ่งผู้ป่วยได้เป็น 2 กลุ่มคือ
พาหะ คือ ผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสตับอักเสบบีในร่างกาย ผู้ป่วยจะไม่มีอาการแต่สามารถแพร่เชื้อสู่ผู้อื่นได้
ตับอักเสบเรื้อรัง คือ ผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสตับอักเสบบีในร่างกาย และตรวจเลือดพบค่าการทำงานของตับผิดปกติ
ผู้ป่วยส่วนมากมักไม่มีอาการ บางรายอาจมีอาการอ่อนเพลียหรือเบื่ออาหารได้
การติดเชื้อแบบเรื้อรังพบบ่อยในเด็กที่ติดเชื้อตั้งแต่แรกเกิด
เชื้อเอชไอวี (HIV)
อาการของโรคเอดส์
ปอดอักเสบ
สูญเสียความจำ อาการซึมเศร้าและอาการทางระบบประสาทอื่นๆ
ท้องเสียเรื้อรังนานกว่าหนึ่งสัปดาห์
เหนื่อยผิดปกติ
อาการไข้ที่กลับมาเป็นซ้ำๆ
น้ำหนักลดอย่างรวดเร็ว
แผลที่ริมฝีปาก อวัยวะเพศและทวารหนัก
อาการบวมที่ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ รักแร้และขาหนีบ
การติดเชื้อเอชไอวี
ติดเชื้อเอชไอวีโดยการสัมผัสกับเลือด น้ำอสุจิ ของเหลวจากช่องคลอดผ่านบาดแผล
การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่สวมถุงยางอนามัยป้องกัน
การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน
จากแม่สู่ลูกระหว่างการตั้งครรภ์
โอกาสติดจากมารดาขณะตั้งครรภ์ 30 %
งดการให้นมลูกจากเต้า
ค่า CD4 ปกติ
500-1,500
ค่า viral load ปกติ
1,000
ต่ำกว่า 200 อันตราย