Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบไหลเวียนเลือด - Coggle Diagram
ระบบไหลเวียนเลือด
หัวใจ(Heart) :
การควบคุมการทำงานของหัวใจ
ปัจจัยที่ควบคุมการทํางานของหัวใจแบ่งเป็น 3 ประเภท
การควบคุมฮอร์โมน
การควบคุมโดยหัวใจเอง
การควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ
ปริมาณเลือดที่ถูกบีบออกจากหัวใจ
Cardiac output
Heart rate (อัตราการเต้นของหัวใจ)
Stroke volume
(ปริมาตรเลือดส่งออกจากหัวใจต่อการ บีบตัวหนึ่งครั้ง)
การควบคุมการทำงานของระบบไหลเวียนเลือด(Cardiovascularcontrol)
ตัวรับรู้การเปลี่ยนแปลงในระบบไหลเวียนเลือด
ตัวรับรู้ที่แคโรติสไซนัส (carotid sinus)
ตัวรับรู้ที่เอออร์ติก อาค (aortic arch)
อวัยวะแสดงผล
หัวใจ
หลอดลือด
ศูนย์ควบคุมระบบไหลเวียนเลือด
ศูนย์ควบคุมใน medullaoblongata
ศูนย์ควบคุมใน hypothalamus
ศูนย์ควบคุมใน cerebral cortex
โครงสร้างของหัวใจ
หัวใจห้องบน (Atrium)
Right atrium
มีผนังบางกว่าห้องบนซ้าย
รับเลือดจาก
Inferior venacava
Coronary venacava
Superior venacava
Left atrium
มีขนาดเล็กกว่าหัวใจห้องบนขวา
ผนังกั้นหัวใจส่วนบนด้านหน้าติดกับ root of aorta
หัวใจห้องล่าง (Ventricle)
Right ventricle
มีลักษณะส่วนปลายขยายออก
พื้นที่เต็มไปด้วยกล้ามเนื้อ
Left ventricle
มีลักษณะเป็นรูปทรงกรวย แคบ
กล้ามเนื้อหนากว่าห้องล่างขวา
ลิ้นหัวใจ (Heart valves)
Atrioventricular valves
Semilunar valves
เนื้อเยื่อหัวใจ
กลุ่มเซลล์เพซเมกเกอร์
Sino-Atrial : SA Node
Atrio-Ventricular Node : AV Node
กล้ามเนื้อหัวใจ
คุณสมบัติ
ทำงานได้เอง(Autonomy)
ทำงานเป็นไปตามกฎของ Frank-Starling-Law
ทำงานเป็นไปตามกฎ All or None Law
กลุ่มเซลล์นำไฟฟ้าพิเศษ
ระบบไหลเวียนเลือด
หลอดเลือด (vessels)
โครงสร้างของหลอดเลือด
ผนังชั้นกลาง (Tunica media)
ผนังชั้นนอก (Tunica external)
ผนังชั้นใน (Tunica interna)
เส้นเลือดแดง (Common iliac)
Internal iliac
External iliac
Femoral
Popliteal
Anterior tibial
Posterior tibial
หลอดเลือดแดง (Subclavian)
Axillry a.
Brachial a.
Radial a.
Deeppalmararterialarch
Ulnar a.
Common interosseous a.
Superficial palmar arterial arch
การเคลื่อนที่ของหลอดเลือด
หลอดเลือดฝอยมีการไหลของเลือดช้าที่สุด
พื้นที่หน้าตัดมากช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนสารได้มากและเร็วขึ้น
การไหลของเลือดมีความเร็วสูงสุดที่เอออร์ตา
การควบคุมการทำงานของหลอดเลือด
การควบคุมระบบประสาทอัตโนมัติ
ระบบประสาทซิมพาเทติกจากไขสันหลังระดับ T1-T12 และ L1-L2
ระบบประสาทซิมพาเทติกที่มายังกล้ามเนื้อ
สารเคมีและฮอร์โมนในกระแสเลือดกับการทำงานของหลอดเลือด
ฮอร์โมนเอฟิเนฟรีน
กระตุ้นตัวรับเบต้า
หลอดเลือดในกล้ามเนื้อหัวใจและสมองขยายตัว
ฮอร์โมนออกซิโทซิน
กระตุ้นทำให้หลอดเลือดเกิดการหดตัว
การควบคุมทั้งร่างกาย
ตัวรับเบต้า
ตัวรับแอลฟา
ตัวรับแกรมม่า
กลไกการควบคุมเฉพาะที่
ชนิดของหลอดเลือด
หลอดเลือดดำ (Veiny)
หลอดเลือดฝอย (Capillary)
หลอดเลือดแดง (Artery)
เลือด(blood)
Plasma
อัลบูมิน (albumin)
รักษาน้ำไว้ในหลอดเลือดผ่านการควบคุมแรงดันออสโมติก
ขนส่งสารในร่างกาย
เป็นโปรตีนสร้างจากเซลล์ตับ
โกลบูลิน (globulin)
ขนส่งไขมันและวิตามิน
ถูกหลั่งจาก lymphocyte ทำหน้าที่ในระบบภูมิคุ้มกัน
ไฟบริโนเจน (fibrinogen)
เป็นปัจจัยทำให้เลือดแข็งตัว
Blood cell
เม็ดเลือดแดง(RBC)
รูปผิดปกติทำให้เซลล์แตกหักง่าย
ขนส่งก๊าซโดยสาร Hemoglobin
ควบคุมสมดุลกรด-ด่างของร่างกาย
เม็ดเลือดขาว(WBC)
Granulocytes
Eosinophils
มีนิวเคลียส 2 พู
พบสารแอนตีฮีสตามีน ต่อต้านปฏิกิริยาแพ้
เพิ่มเมื่อมีการแพ้หรือติดเชื้อพยาธิ
Basophils
สร้าง histamine ทำให้เกิดการแพ้หรืออักเสบ
พบสาร heparin ป้องกันไม่ให้เลือดแข็งตัว
แกรนูย้อมติดสีน้ำเงินของด่าง
Neutrophils
ด่านแรกในการต่อสู้แบคทีเรีย
ทำลายสิ่งแปลกปลอมโดยการจับกินแบบฟาโกไซโทซิส
มีนิวเคลียสหลายพู
Agranulocytes
Monocytes
หลั่งสารดีเฟนซิน ทำลายเชื้อโรค
ดึงดูดเม็ดเลือดขาวชนิดอื่น
มีนิวเคลียสรูปคล้ายไต
Lymphocytes
สร้างจากเซลล์ต้นกำเนิดลิมฟอยด์
แบ่งเป็น 3 ชนิด
B-lymphocyte
T-lymphocyte
NK cell
มีนิวเคลียสกลมโตเกือบเต็มเซลล์
Platelet
มีบทบาทสำคัญในกระบวนการห้ามเลือด (Hemostasis)
แตกตัวมาจากเซลล์ชนิด megakaryocytes
ช่วยกั้นการไหลของเลือดจากหลอดเลือด