Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สารน้ำและสารอาหาร ที่ให้ทางหลอดเลือดดำ - Coggle Diagram
สารน้ำและสารอาหาร
ที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
ตัวอย่างความไม่สมดุลของน้ำและ electrolyte ในร่างกาย
ภาวะน้ำเกิน
ทำให้การทำงานของหัวใจล้มเหลว
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง
อาจทำให้หัวใจหยุดเต้น
ภาวะ shock จากร่างกายสูญเสียน้ำจำนวนมาก
ผู้ป่วยเสียชีวิต
บทบาทของพยาบาล
ต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารน้ำและ electrolyte
ต้องมีทักษะในการประเมินปัญหา และวางแผนการพยาบาล เพื่อคงความสมดุลของน้ำและ electrolyte ในร่างกาย
ข้อบ่งชี้การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ผู้ป่วยที่มีภาวะไม่สมดุลของกรด-ด่าง
ผู้ป่วยที่สูญเสียน้ำและเกลือแร่ปริมาณมาก
ผู้ป่วยรับประทานอาหารทางปากไม่ได้
ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับเลือดหรือผ่าตัด
ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับยาทางหลอดเลือดดำ
ความไม่สมดุลของน้ำและอิเล็กโทรไลต์
ภาวะขาดสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์
การได้รับสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์มากเกินความต้องการของร่างกาย
การขับถ่ายสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์ลดลง
อาการแสดง
ลิ้นบวมแดง (โซเดียมเกิน)
น้ำหนักตัวเพิ่ม (บวมน้ำ)
ฟังปอดได้ยินเสียงกรอบแกรบ (crackle) จากภาวะน้ำเกิน
ประเภทของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonic solution)
เป็นสารน้ำที่มีความเข้มข้น osmolality ต่ำกว่าความเข้มข้นในน้ำ
เลือด (plasma) ในร่างกาย (<280 mOsm/L)
การให้สารน้ำชนิดนี้มีผลให้ cell ขยายตัว
ใช้เพื่อทดแทนสารน้ำที่ร่างกายสูญเสีย โดยที่ระดับโซเดียมในพลาสมาไม่เพิ่มขึ้น เช่น 0.45% sodium chloride (NSS/2)
สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution)
เป็นสารน้ำที่มีความเข้มข้น osmolality สูงกว่าความเข้มข้นในน้ำเลือด
(plasma) (>310 mOsm/L)
ทำให้เกิดการดึงน้ำเข้าช่องว่างของหลอดเลือดด้วยกระบวนการ
osmosis ผลคือเพิ่มปริมาณน้ำในหลอดเลือด
เช่น 3% sodium chloride , Dextrose 5% in NSS , Dextrose 10%
in NSS , Dextrose 10% in water
สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
เป็นสารน้ำที่มีความเข้มข้น osmolality เท่ากับน้ำเลือด (plasma)ใน
ร่างกาย (280-310 mOsm/L)
ใช้เพื่อทดแทนสารน้ำที่ร่างกายสูญเสีย (ทดแทนน้ำที่อยู่นอก cell) เช่น 0.9% sodium chloride (NSS) , Dextrose 5% in water (D5W) , Ringer’s lactate solution (LRS)
สารละลายอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) ภายในร่างกาย
อิเล็กโทรไลต์ที่อยู่ภายนอกเซลล์ ได้แก่ โซเดียม คลอไรด์ แคลเซียม และ ไบคาร์บอเนต
อิเล็กโทรไลต์ที่อยู่ภายในเซลล์ ได้แก่ โพแทสเซียม แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส
น้ำภายในและภายนอกเซลล์ มีส่วนประกอบของสารเคมีที่เรียกว่า “อิเล็กโทรไลต์”
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดด้า มี 3 ทาง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่ (Central venous therapy)
เป็นการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำขนาดใหญ่ที่คอหรือท้อง ได้แก่ subclavian veins , internal jugular veins , external jugular veins ,nominate vein , femoral veins
วัตถุประสงค์เพื่อ
ให้สารน้ำเข้าไปในร่างกายในระยะ
เวลารวดเร็วและปริมาณมาก
ต้องการวัดแรงดันเลือดใน
หลอดเลือดดำส่วนกลาง
ให้สารอาหารที่มีความเข้มข้นสูง
เช่น การให้สารอาหาร TPN
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่ทางอุปกรณ์ที่ฝังใต้ผิวหนัง
(implanted vascular access devices : IVADs)
เป็นการให้สารน้ำทางอุปกรณ์ที่ท้าหน้าที่แทนหลอดเลือดดำที่ฝังไว้ใต้ผิวหนังบริเวณหน้าอก แขน ขา หรือท้อง (ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่)
วัตถุประสงค์เพื่อ
เป็นอุปกรณ์สำหรับการให้สารน้ำ สารอาหาร ยา เลือด
ใช้สำหรับดูดเลือดเพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ใช้กับผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้สารละลายทางหลอดเลือดดำเป็นระยะเวลาต่อเนื่อง เช่น ผู้ป่วยเคมีบำบัด ผู้ป่วยโรคเลือด
ทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral intravenous infusion)
เป็นการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำที่อยู่ส่วนปลายของมือ แขนและขา ให้เป็นระยะเวลาสั่นๆ เช่น - การให้สารน้ำ 0.9% NSS - การให้สารละลายยาทาง IV piggyback
น้ำในร่างกาย (Body fluids)
น้ำกระจายอยู่ในส่วนต่างๆของร่างกาย
(60% ของน้ำหนักตัว)
40% น้ำภายในเซลล์ (Intracellular fluid: ICF)
20% น้ำภายนอกเซลล์ (Extracellular fluid: ECF)
14% น้ำระหว่างเซลล์ (Interstitial fluid)
6% น้ำภายในหลอดเลือด (Plasma)
การคำนวณสารน้ำ
สิ่งที่ควรทราบ
จำนวนหยดต่อมิลลิลิตร ของชุดให้สารน้ำ (IV infusion set)
ในแต่ละบริษัทที่ผลิต IV infusion set อาจมีจำนวนหยดต่อมิลลิลิตร
ไม่เท่ากัน
แนะนำให้สังเกตจากซองบรรจุ ทุกครั้ง
ปริมาณสารน้ำที่สั่ง (mL) X จ้านวนหยดบนซอง set น้ำเกลือ (หยด/mL)
/ เวลา (หน่วยเป็น นาที)
Enteral & Parenteral
Nutrition
ทีมโภชนบำบัด (Nutrition Support Team)
เป็นการร่วมกันทำงานของสหสาขาวิชาชีพ ในการดูแลผู้ป่วยทุพโภชนาการอย่างเป็นระบบร่วมกัน เพื่อให้ผู้ป่วยมีความปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น
บทบาทของทีมโภชนบำบัดในการดูแลผู้ป่วย
• แพทย์ ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการดูแลโภชนบำบัดสำหรับผู้ป่วยวิกฤต , กำหนดนโยบาย แนวทางการปฏิบัติงาน พัฒนาและปรับปรุงการทำงานของทีมฯ
• พยาบาล เป็นผู้เชี่ยวชาญในการดูแลผู้ป่วยด้านโภชนบำบัด ให้การช่วยเหลือและสนับสนุนผู้ป่วย
• นักก้าหนดอาหาร ควบคุม จัดหา ผลิต และบริการอาหารให้ผู้ป่วยประเมินภาวะโภชนาการ วางแผนการให้โภชนบ้าบัดแก่ผู้ป่วย
• เภสัชกร การเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดด้า การให้ความรู้ข้อมูลเรื่องอันตรกิริยาระหว่างยากับอาหาร
การให้สารอาหารทางระบบทางเดินอาหาร
(Enteral nutrition support)
ข้อบ่งชี ในการให้อาหารทางสายให้อาหาร
(enteral nutrition)
เมื่อระบบทางเดินอาหารของผู้ป่วยสามารถใช้ได้
เมื่อผู้ป่วยไม่สามารถรับประทานได้เองทางปาก หรือรับประทานได้เองไม่เพียงพอ
ผู้ที่มีภาวะทุพโภชนาการ ที่ไม่สามารถกินอาหารได้ปกติ หรืออาหารทางการแพทย์เสริมได้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ผู้ที่มีปัญหาด้านการกลืน เช่น ผู้ป่วยโรคสมอง ผู้ป่วยที่มีปัญหา กล้ามเนื้อ การกลืน
ข้อห้ามในการให้อาหารทางสายให้อาหาร
ทางเดินอาหารอุดกั้นที่ไม่สามารถแก้ไขด้วยการผ่าตัด
เลือดออกในทางเดินอาหารปริมาณมาก
3.ภาวะลeไส้สั่นที่รุนแรง โดยมีลำไส้เล็กเหลืออยู่น้อยกว่า 100 ซม .
ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะช็อกอย่างรุนแรง
ภาวะอาเจียนหรือถ่ายเหลวรุนแรงที่ไม่ตอบสนองต่อการให้ยา
รูรั่วของลำไส้อยู่ต่ำกว่าปลายสายให้อาหาร
ลำไส้ไม่สามารถดูดซึมสารอาหารได้ชนิดรุนแรง
การให้สารอาหารทางระบบทางเดินอาหาร
(Enteral nutrition support)
การให้โภชนบำบัดทางสายให้อาหารเข้าสู่กระเพาะอาหารหรือลำไส้เล็กโดยตรง ซึ่งอาจเป็นการใส่สายผ่านรูจมูก เช่น nasogastric tube, nasojejunal tube หรือการใส่สายผ่านผนังหน้าท้องเข้าสู่กระเพาะอาหารโดยตรง เช่น percutaneous endoscopic gastrostomy
(PEG)
สายให้อาหารที่ให้ระยะเวลาสั้น (ไม่เกิน 4-6 สัปดาห์)
สายให้อาหารที่ใส่ผ่านจมูก หรือปาก
วัสดุที่เหมาะกับการใช้ คือ โพลียูรีเทน ซิลิโคน (ราคาแพง) เนื่องจากลดการระคายเคืองเยื่อบุจมูก
ตรวจสอบตำแหน่งปลายสายทุกครั้งภายหลังใส่สาย ว่าปลายสายอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้องก่อนจะให้อาหารหรือยา
สายให้อาหารที่ใช้ระยะเวลายาว (นานกว่า 4-6 สัปดาห์)
ได้แก่สายให้อาหารผ่านจากหน้าท้อง โดยปลายสายอยู่ใน กระเพาะอาหาร(gastrostomy tube) และสายให้อาหารผ่านจากหน้าท้อง โดยปลายสายอยู่ที่ลำไส้เล็ก (jejunostomy tube)
วัสดุที่เหมาะกับการใช้ คือ โพลียูรีเทน ซิลิโคน
ตรวจสอบต้าแหน่งปลายสายก่อนจะให้อาหารหรือยา
วิธีการให้อาหารทางสายให้อาหาร
การให้อาหารด้วยวิธีหยดเป็นมื อ (intermittent feeding)
เป็นการให้อาหารโดยแบ่งเป็นมื้อ ผ่านสายให้อาหารช้าๆ
1-3 ชั่วโมง ต่อมื้อ
ปริมาณอาหารแต่ละมื ออาจให้ปริมาณอาหารได้มากกว่าวิธี
bolus feeding
ใช้สำหรับผู้ป่วยที่ใส่สายให้อาหารที่ปลายสายอยู่ในกระเพาะ
อาหาร ผู้ป่วยที่เริ่มให้อาหารเป็นครั้งแรก
ผู้ป่วยจะรับได้ดีกว่าวิธี bolus feeding
การให้อาหารด้วยวิธี bolus feeding
ให้อาหารผ่านทาง syringe ให้อาหาร หรือถุงให้อาหาร โดย
ปล่อยให้หยดตามแรงโน้มถ่วง อาหารจะหมดเร็ว
อัตราการให้ไม่ควรเร็วกว่า 60 มิลลิลิตร/นาที หรือไม่ควรเร็ว
กว่า 15 นาที
วิธีนี้ใช้กับผู้ป่วยที่มีปลายสายให้อาหารอยู่ในกระเพาะอาหาร
เท่านั้น
ไม่ควรใช้วิธีนี้ในผู้ป่วยวิกฤต
การให้อาหารด้วยวิธีหยดต่อเนื่อง (continuous feeding)
เป็นการให้อาหารหยดต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง
ควรใช้เครื่องควบคุมอัตราการหยดอาหาร (enteral feedingpump) เพื่อควบคุมอัตราการหยดได้แน่นอน โดยเฉพาะใน
ผู้ป่วยที่เริ่มด้วยอัตราการหยดน้อยๆ
ใช้ส้าหรับผู้ป่วยที่ใส่สายให้อาหารที่ปลายสายให้อาหารอยู่ที่
ล้าไส้เล็ก ผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการส้าลักอาหาร ผู้ป่วยวิกฤต
อาหารปั่นผสม (Blenderized diet)
Complete diet
Hepatic formula
Diabetic formula
Immune formula
renal formula
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
(Parenteral nutrition support)
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
(Parenteral nutrition support)
เป็นการให้โภชนบำบัดทางหลอดเลือดดำ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต (น้ำตาล) โปรตีน(กรดอะมิโน) ไขมัน เกลือแร่ วิตามิน และแร่ธาตุ ต่างๆ อาจให้แบบแยกขวด (separate bottle) หรือแบบรวมกันในถุงเดียว (all in one bag)
การใส่สายเพื่อให้อาหารทางหลอดเลือดดำ
การใส่สายเพื่อให้สารอาหารผ่านทางหลอดเหลือดดำส่วนปลาย
(peripheral venous access)
การแทงเข็มหรือการใส่สายควรเลือกหลอดเลือดดำส่วนปลาย (peripheral vein) บริเวณปลายมือหรือแขน เนื่องจากอุบัติการณ์เกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำต่ำกว่าที่เท้าหรือขา
เหมาะกับการให้สารอาหารช่วงระยะเวลาสั้นๆ เนื่องจากผนังของหลอดเลือดดำส่วนปลายทนต่อสารอาหารหรือสารน้ำที่มีความเข้มข้น(osmolality) สูงไม่เกิน 900 mOsm/L เพราะถ้าความเข้มข้นสูงเกินมีโอกาสเกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำ (Thrombophlebitis)
ข้อดีของการให้สารอาหารผ่านทาง peripheral vein:
อุบัติการณ์ของการเกิดการติดเชื้อต่ำกว่า
การแทงเข็ม หรือใส่สายสวนสามารถทำได้ง่ายกว่า central vein
ภาวะแทรกซ้อน ที่อาจเกิดขึ้น
การอักเสบของหลอดเลือดดำส่วนปลาย ได้แก่อาการเจ็บบริเวณผิวหนังที่แทงเข็ม การอักเสบนี้ท้าให้เกิดลิ่มเลือด (thrombosis) และการอุดตัน (occlusion) ของหลอดเลือดดำทำให้ผิวหนังมการบวม แดง และคลำได้ลำหลอดเลือดที่ภายในมีลิ่มเลือด
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำส่วนปลาย
ตำแหน่งของเข็มหรือสายสวนที่แทงเข้าผิวหนัง
ระยะเวลาที่เข็มหรือสายสวนคาไว้
ชนิดของสารอาหาร
ความเข้มข้นของสารละลายที่ให้
สารละลายที่มีฤทธิ์เป็นกรดและสารที่ออกฤทธิ์ต่อหลอดเลือด
ยาบางชนิดที่ทำให้หลอดเลือดระคายเคือง เช่น ยาเคมีบำบัด
มีคำแนะนำให้เปลี่ยนตำแหน่งที่แทงเข็มสำหรับให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลายทุกๆ 48-72 ชั่วโมง เพื่อลดอัตราการเกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำ
การใส่สายเพื่อให้สารอาหารผ่านทางหลอดเหลือดดำ
ส่วนกลาง (central venous access)
โดยการแทงและใส่สายสวน (catheter) ให้ต้าแหน่งของปลายสายสวน
อยู่ในหลอดเลือดด้าส่วนกลาง
สารอาหารหรือสารน้ำที่ให้มีความเข้มข้น (Osmolality) สูงเกินกว่า 900 mOsm/L เเนะนำให้ทางหลอดเลือดดำส่วนกลาง (central vein)
ตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่แทงหรือใส่สายสวน
ใส่สายสวนที่หลอดเลือดดำส่วนปลายแล้วให้ปลายสายสวนอยู่ในหลอดเลือดดำส่วนกลาง เรียกวิธีนี้ว่า Peripheral inserted central venous catheter (PICC line) placement
PICC line เป็น central vevous catheter ที่ใส่ผ่านหลอดเลือด
ดำส่วนปลายที่แขน
PICC line สามารถใส่สายและทำหัตถการที่ข้างเตียงของผู้ป่วยได้
ข้อห้ามในการใส่ PICC line เช่น มีการอักเสบของหลอดเลือดดำส่วน
ปลาย มีcellulitis มีแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกบริเวณข้อพับแขน
Central venous catheter (CVCs) placement
ใส่สายสวนที่ตำแหน่งหลอดเลือดดำใหญ่ ได้แก่ หลอดเลือดดำ Subclavian, Internal jugular , Femoral โดยให้ปลายสายสวนอยู่ในหลอดเลือดดำส่วนกลาง
สารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
Parenteral Nutrition Formula
โปรตีน
• โปรตีนที่ให้ทางหลอดเลือดดำ อยู่ในรูปของกรดอะมิโน (amino acid)
สามารถให้ในรูป Dipeptide (การจับคู่ของกรดอะมิโน 2 ชนิด) ได้
• กรดอะมิโน ให้พลังงานเฉลี่ย 4 กิโลแคลอรีต่อกรัม
• สูตรที่ใช้มีความเข้มข้นตั้งแต่ 5-15 %
• หากให้ทางหลอดเลือดดำส่วนปลายไม่ควรใช้ความเข้มข้นที่มากกว่า 10 %
• การให้กรดอะมิโน ต้องให้คู่กับ กลูโคส หรือ กลูโคส และไขมัน เสมอ
• ต้องระวังการใช้ในผู้สูงอายุ และผู้ป่วยโรคไต
ไขมัน
• ให้พลังงานประมาณ 9 กิโลแคลอรีต่อกรัม (จากไขมันสายยาว)
• ให้พลังงานประมาณ 8 กิโลแคลอรีต่อกรัม (จากไขมันสายกลาง
(medium chain triglycerides: MCT oil))
• ส่วนประกอบไขมันที่ให้ทางหลอดเลือด ประกอบด้วย
• ไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) เช่น น้ำมันจากถั่วเหลือง มะกอก
ปลา MCT oil
• ฟอสโฟไลปิด (phospholipids) ได้จากไข่แดง เป็นตัวช่วยให้ไขมัน
แตกตัวได้ดี (emulsifier)
• การให้ไขมันทางหลอดเลือดดำหากแยกจากสารอาหารอื่นๆ สามารถให้ทางperipheral vein หรือให้ทาง central vein ก็ได้ เนื่องจากมี
ค่าความเข้มข้น osmolality ต่ำ
• มีข้อควรระวังในการให้ไขมันแก่ผู้ป่วยกลุ่มที่มีปัญหาในการ
metabolism ไขมัน เช่น ผู้ป่วยมะเร็ง ผู้ป่วยที่ได้รับสเตียรอยด์เนื่องจากหากระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูงเกิน อาจมีปัญหาเรื่อง
ตับอ่อนอักเสบ เกล็ดเลือดท้างานผิดปกติ
คาร์โบไฮเดรต
• ให้พลังงานเฉลี่ย 3.4 กิโลแคลอรี่ต่อกรัม
• อยู่ในรูปน้ำตาลเชิงเดี่ยว (monosaccharide) เท่านั้น ได้แก่ glucose
• สูตรที่ใช้มีความเข้มข้นตั้งแต่ 5-50%
• หากให้ทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย ไม่ควรใช้ความเข้มข้นที่มากกว่า
10% เนื่องจาก osmolality สูง อาจทำให้เกิดหลอดเลือดอักเสบได้
วิตามิน
• วิตามินที่ให้ทางหลอดเลือดด้า ส่วนใหญ่เป็นวิตามินรวม (multivitamin)
• วิตามินที่ใช้ ได้แก่
• OMVI ® เป็นวิตามินรวมทุกชนิด
• Cernevit ®เป็นวิตามินรวมทุกชนิด ยกเว้นวิตามินเค
• Soluvit ® มีเฉพาะวิตามินที่ละลายในน้ำ (water soluble vitamin)
• Vitalipid ® มีเฉพาะวิตามินที่ละลายในไขมัน (fat soluble vitamin)
แร่ธาตุ
แร่ธาตุที่ให้ทางหลอดเลือดดำ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
Macrominerals เป็นแร่ธาตุที่ร่างกายต้องการในปริมาณมากต่อวัน ได้แก่ โซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม ฟอสฟอรัส
และ แมกนีเซียม
• การให้ต้องพิจารณาตามความต้องการในแต่ละวัน อาจเพิ่ม
ตามความต้องการเฉพาะโรค
Trace elements เป็นแร่ธาตุที่ร่างกายต้องการในปริมาณ
น้อย ได้แก่ สังกะสี โครเมียม คอปเปอร์ แมงกานีส