Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรครูมาตอยด์ Rheumatoid arthritis : image , ไพจิตต์ อัศวธนบดี, พงศ์ธร…
-
:star: พยาธิสรีรวิทยา
- RFs จะจับกับแอนติเจนของตนเองในเลือดและในเยื่อหุ้มข้อ(synovial membrane) กลายเป็น antiger-antibody complexes กระดูกผิวอ่อนของข้อผิดปกติเกิดจาก
- neutrophl ในน้ำไขช้อถูกกระตุ้นให้ทำลายผิวของกระดูกอ่อน
- ขณะที่อักเสบ จะพบการเปลี่ยนแปลง มีความผิดปกติของ T cells
- ทำให้ไม่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันที่ปกติ แต่กลายเป็นภูมิคุ้มกันต่อตนเอง ที่เรียกว่า rheumatoid factors (RFS)
- สารหลั่งของการอักเสบ โดยเฉพาะ TNF-α,
intereukin-6 และอื่น ๆ ทำลายกระดูกอ่อนและกระดูก
- T cells ทำปฏิกิริยากับ lroblast ในข้อโดย ผ่าน TNF-α ทำให้ผนังของข้อหนาขึ้น
- ภาวะที่ขาดออกซิเจนและภาวะกรดยิ่งทำให้มีการอักเสบและเกิดรอยแผลที่ข้อนั้น
การวินิจฉัย :star:
- วินิจฉัยโดยการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ การตรวจ rheumatoid factor ในเลือด ถ้าพบในระดับเลือดสูงจะมีความสัมพันธ์กับความรุนแรงของอาการทางข้อ และอาการแสดงนอกข้อ และ anti-citrullinated protein antibody(ACPA เป็นแอนติบอดีต่อโปรตีนของตนเอง)
- การตรวจ erythrocyte sedimentation rate(ESR) และ
C-reactirve protein (CRP) ภาพรังสีข้อมีประโยชน์ในการวินิจฉัยและประเมินความรุนแรงของโรค
การรักษา :star:
- ยาที่ยับยั้ง TNF และยับยั้งการกระตุ้น T cells ใช้ยากลุ่มอื่นๆ ได้แก่ NSAIDs, glucocorticoid ร่วมกับการออกกำลังกาย
- methotrexate,azathioprine,hydroxychloroquine, cyclosporine ยาในกลุ่มนี้ช่วยให้อาการของโรคก้าวหน้าช้าลง
- รักษาโดยใช้ยากลุ่ม Disease-modifying antirheumatoid(DMARDs)
- ในระยะแรกอาจไม่พบอาการชัดเจน ในระยะที่เป็นมาก อาจพบข้อนิ้วเท้าบวมเหมือนรูปกระสวย
ความหมาย :star:
:red_flag: ข้อเสื่อมที่มีการอักเสบ เรียกว่า athris โดยมีการอักเสบ ทำลายเยื่อบุข้อ กระดูกอ่อนผิวข้อ และแสดงอาการอักเสบทั่วร่างกาย บางครั้งอาจมีการติดเชื้อร่วมด้วย Rheumatoid arthis จัดเป็นโรคข้อเสื่อมชนิดที่มีการอักสบแต่ไม่มีการติดเชื้อ เกิดจากปฏิกิริยาของระบบภูมิคุ้มกันต่อตนเองและภูมิคุ้มกันไวเกิน
-
-
อาการและอาการแสดง :star:
- อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำเหลืองและม้ามโต ข้อแข็ง ปวดและกดเจ็บ ข้อบวมเกิดจากเยื่อบุข้อแบ่งตัวและเจริญหนาตัวขึ้นสร้างกระดูกใหม่ และลุกลามไปยังข้อใหญ่
- บางรายที่มีอาการมีอาการข้อผิดรูป มีการสร้าง exudate ในโพรงไขช้อ จนกลายเป็นถุงน้ำ (cyst) ในเยื่อหุ้มผิวกระดูกอ่อนปกติที่นอกข้อ
- การเกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดอักเสบ
-สาเหตุยังไม่ทราบแน่ชัด อาจเกิดจากพันธุกรรม
ที่มีปฏิกิริยาต่อสารต้านการอักเสบ(infammatory mediators) ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ เช่น สูบบุหรี่
-
- ไพจิตต์ อัศวธนบดี, พงศ์ธร ณรงค์ฤกษ์นาวิน, สุดาทิพ ศิริชนะ. โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ (Rheumatoid arthritis) การอ่านภาพรังสีเพื่อการวนิิจฉยัโรครูมาติก หน้า 15-27.
- โรงพยาบาลนครธน. โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ วายร้ายทำลายกระดูก [ออนไลน์]. 2021, แหล่งที่มา : https://1th.me/W0PbY [15 ธันวาคม 2564]
-
-
-