Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สารน้ำและสารอาหาร ที่ให้ทางหลอดเลือดดำ - Coggle Diagram
สารน้ำและสารอาหาร
ที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
น้ำในร่างกาย (Body fluids)
40 % น้ำภายในเซลล์ Intracellular fluid: ICF)
20 % น้ำภายนอดเซลล์ (Extracellular fluid: ECF)
14 % น้ำระหว่างเซลล์ (Interstitial fluid)
6 % ภายในหลอดเลือด (Plasma)
สารละลายอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte)
ภายในร่างกาย
อิเล็กโทรไลต์ที่อยู่ภายนอกเซลล์ ได้แก่ โซเดียม คลอไรด์ แคลเซียม และไบคาร์บอเนต
อิเล็กโทรไลต์ที่อยู่ภายในเซลล์ ได้แก่ โพแทสเซียม แมกนีเซียม
ฟอสฟอรัส
น ้าภายในและภายนอกเซลล์ มีส่วนประกอบของสารเคมีที่เรียกว่า
“อิเล็กโทรไลต์”
ความไม่สมดุลของน้ำและอิเล็กโทรไลต์
ภาวะขาดสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์
การได้รับสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์ ไม่เพียงพอ
การขับถ่ายสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์ มากผิดปกติ
ภาวะสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์เกิน
การได้รับสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์มากเกินความต้องการของ
ร่างกาย
การขับถ่ายสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์ลดลง
การให้สารอาหารทางระบบทางเดินอาหาร (Enteral nutrition support)
การให้โภชนบ้าบัดทางสายให้อาหารเข้าสู่กระเพาะอาหารหรือลำไส้
เล็กโดยตรงซึ่งอาจเป็นการใส่สายผ่านรูจมูก เช่น nasogastric tube, nasojejunal tube หรือการใส่สายผ่านผนังหน้าท้องเข้าสู่กระเพาะอาหารโดยตรง เช่น percutaneous endoscopic gastrostomy (PEG)
สายให้อาหารที่ให้ระยะเวลาสั้น (ไม่เกิน 4-6 สัปดาห์)
สายให้อาหารที่ใส่ผ่านจมูก หรือปาก
วัสดุที่เหมาะกับการใช้ คือ โพลียูรีเทน ซิลิโคน (ราคาแพง)
เนื่องจากลดการระคายเคืองเยื่อบุจมูก
ตรวจสอบต้าแหน่งปลายสายทุกครั้งภายหลังใส่สาย ว่า
ปลายสายอยู่ในต้าแหน่งที่ถูกต้องก่อนจะให้อาหารหรือยา
ตัวอย่างความไม่สมดุลของน้ำ electrolyte ในร่างกาย
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง อาจท้าให้หัวใจหยุดเต้น
ภาวะ shock จากร่างกายสูญเสียน้ำจำนวนมาก ผู้ป่วยเสียชีวิต
ภาวะน้ำเกิน ท้าให้การท้างานของหัวใจล้มเหลว
บทบาทของพยาบาล
ต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารน้ำและ electrolyte
ต้องมีทักษะในการประเมินปัญหา และวางแผนการพยาบาล เพื่อคง
ความสมดุลของน้ำและ electrolyte ในร่างกาย
ประเภทของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonic solution)
เป็นสารน้ำที่มีความเข้มข้น osmolality ต่ำกว่าความเข้มข้นในน้ำ
เลือด (plasma) ในร่างกาย (<280 mOsm/L) การให้สารน้ำชนิดนี มีผลให้ cell ขยายตัว ใช้เพื่อทดแทนสารน้ำที่ร่างกายสูญเสีย โดยที่ระดับโซเดียมในพลาสมาไม่เพิ่่มขึ้น เช่น 0.45% sodium chloride (NSS/2)
สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution)
เป็นสารน้ำที่มีความเข้มข้น osmolality สูงกว่าความเข้มข้นในน้ำเลือด
(plasma) (>310 mOsm/L) ท้าให้เกิดการดึงน้ำเข้าช่องว่างของหลอดเลือดด้วยกระบวนการ osmosis ผลคือเพิ่มปริมาณน้ำในหลอดเลือด เช่น 3% sodium chloride , Dextrose 5% in NSS , Dextrose 10% in NSS , Dextrose 10% in water
สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
เป็นสารน้ำที่มีความเข้มข้น osmolality เท่ากับน้ำเลือด (plasma)ใน
ร่างกาย (280-310 mOsm/L) ใช้เพื่อทดแทนสารน้ำที่ร่างกายสูญเสีย (ทดแทนน้ำที่อยู่นอก cell) เช่น 0.9% sodium chloride (NSS) , Dextrose 5% in water (D5W) , Ringer’s lactate solution (LRS)
ข้อบ่งชี้การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ผู้ป่วยที่มีภาวะไม่สมดุลของกรด-ด่าง
ผู้ป่วยที่สูญเสียน้ำและเกลือแร่ปริมาณมาก
ผู้ป่วยรับประทานอาหารทางปากไม่ได้
ผู้ป่วยที่จ้าเป็นต้องได้รับเลือดหรือผ่าตัด
ผู้ป่วยที่จ้าเป็นต้องได้รับยาทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ มี 3 ทาง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่ (Central venous therapy)
เป็นการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำขนาดใหญ่ที่คอหรือท้อง ได้แก่ subclavian veins ,internal jugular veins ,external jugular veins , nominate vein , femoral veins
3.การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่ทางอุปกรณ์ที่ฝังใต้ผิวหนัง (implanted vascular access devices : IVADs)
เป็นการให้สารน้ำทางอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แทนหลอดเลือดดำที่ฝังไว้ใต้ผิวหนังบริเวณหน้าอก แขน ขา หรือท้อง (ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่)
ทางหลอดเลือดด้าส่วนปลาย (Peripheral intravenous infusion)
เป็นการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำที่อยู่ส่วนปลายของมือ แขนและขา ให้เป็นระยะเวลาสั้นๆ เช่น การให้สารน้ำ 0.9% NSS ,การให้สารละลายยาทาง IV piggyback
ข้อบ่งชี้ในการให้อาหารทางสายให้อาหาร(enteral nutrition)
เมื่อผู้ป่วยไม่สามารถรับประทานได้เองทางปาก หรือรับประทานได้เองไม่เพียงพอ
ผู้ที่มีภาวะทุพโภชนาการ ที่ไม่สามารถกินอาหารได้ปกติ หรืออาหารทางการแพทย์เสริมได้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
เมื่อระบบทางเดินอาหารของผู้ป่วยสามารถใช้ได้
ผู้ที่มีปัญหาด้านการกลืน เช่น ผู้ป่วยโรคสมอง ผู้ป่วยที่มีปัญหา
กล้ามเนือการกลืน
ข้อห้ามในการให้อาหารทางสายให้อาหาร
ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะช็อกอย่างรุนแรง
ภาวะอาเจียนหรือถ่ายเหลวรุนแรงที่ไม่ตอบสนองต่อการให้ยา
3.ภาวะล้าไส้สั้นที่รุนแรง โดยมีล้าไส้เล็กเหลืออยู่น้อยกว่า 100 ซม.
รูรั่วของล้าไส้อยู่ต่ำกว่าปลายสายให้อาหาร
เลือดออกในทางเดินอาหารปริมาณมาก
ล้าไส้ไม่สามารถดูดซึมสารอาหารได้ชนิดรุนแรง
ทางเดินอาหารอุดกั้นที่ไม่สามารถแก้ไขด้วยการผ่าตัด
วิธีการให้อาหารทางสายให้อาหาร
การให้อาหารด้วยวิธีหยดเป็นมือ (intermittent feeding)
การให้อาหารด้วยวิธี bolus feeding
การให้อาหารด้วยวิธีหยดต่อเนื่อง (continuous feeding)
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
(Parenteral nutrition support)
การใส่สายเพื่อให้สารอาหารผ่านทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
(peripheral venous access)
การแทงเข็มหรือการใส่สายควรเลือกหลอดเลือดดำส่วนปลาย(peripheral
vein) บริเวณปลายมือหรือแขน เนื่องจากอุบัติการณ์เกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำต่ำกว่าที่เท้าหรือขา
ข้อดีของการให้สารอาหารผ่านทาง peripheral vein:อุบัติการณ์ของการเกิดการติดเชื้อต่่ำกว่าการแทงเข็ม หรือใส่สายสวนสามารถทำได้ง่ายกว่า central vein
ภาวะแทรกซ้อน ที่อาจเกิดขึ้น ได้แก่ ได้แก่อาการเจ็บบริเวณ
ผิวหนังที่แทงเข็มการอักเสบนี้ ทำให้เกิดลิ่มเลือด (thrombosis)และการอุดตัน (occlusion)
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำส่วนปลาย คือตำแหน่งของเข็มหรือสายสวนที่แทงเข้าผิวหนัง, ระยะเวลาที่เข็มหรือสายสวนคาไว้ชนิดของสารอาหาร,สารละลายที่มีฤทธิ์เป็นกรดและสารที่ออกฤทธิ์ต่อหลอดเลือด
การใส่สายเพื่อให้สารอาหารผ่านทางหลอดเหลือดดำ
ส่วนกลาง (central venous access)
โดยการแทงและใส่สายสวน (catheter) ให้ตำแหน่งของปลายสายสวน
อยู่ในหลอดเลือดด้าส่วนกลาง
ตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่แทงหรือใส่สายสวน
ใส่สายสวนที่หลอดเลือดดำส่วนปลายแล้วให้ปลายสายสวนอยู่ในหลอดเลือดดำส่วนกลาง เรียกวิธีนี้ ว่า Peripheral inserted central venous catheter (PICC line) placement
สารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
คาร์โบไฮเดรต
อยู่ในรูปน้ำตาลเชิงเดี่ยว (monosaccharide) เท่านั้น ได้แก่
glucose
สูตรที่ใช้มีความเข้มข้นตั้งแต่ 5-50%หากให้ทางหลอดเลือดด้าส่วนปลาย ไม่ควรใช้ความเข้มข้นที่มากกว่า 10% เนื่องจาก osmolality สูง อาจทำให้เกิดหลอดเลือดอักเสบได้
ให้พลังงานเฉลี่ย 3.4 กิโลแคลอรีต่อกรัม
โปรตีน
โปรตีนที่ให้ทางหลอดเลือดดำ อยู่ในรูปของกรดอะมิโน (amino acid)
สามารถให้ในรูป Dipeptide (การจับคู่ของกรดอะมิโน 2 ชนิด) ได้
กรดอะมิโน ให้พลังงานเฉลี่ย 4 กิโลแคลอรีต่อกรัม
สูตรที่ใช้มีความเข้มข้นตั้งแต่ 5-15 %หากให้ทางหลอดเลือดดำส่วนปลายไม่ควรใช้ความเข้มข้นที่มากกว่า
ไขมัน
ให้พลังงานประมาณ 9 กิโลแคลอรีต่อกรัม (จากไขมันสายยาว)
ให้พลังงานประมาณ 8 กิโลแคลอรีต่อกรัม (จากไขมันสายกลาง
(medium chain triglycerides: MCT oil))
ไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) เช่น น้ำมันจากถั่วเหลือง มะกอก
ปลา MCT oil
วิตามิน
วิตามินที่ให้ทางหลอดเลือดดำ ส่วนใหญ่เป็นวิตามินรวม (multivitamin) ได้แก่ OMVI เป็นวิตามินรวมทุกชนิด , Cernevit เป็นวิตามินรวมทุกชนิด ยกเว้นวิตามินเค , Soluvit มีเฉพาะวิตามินที่ละลายในน ้า (water soluble vitamin) , Vitalipid มีเฉพาะวิตามินที่ละลายในไขมัน (fat soluble vitamin)
แร่ธาตุ
Macrominerals เป็นแร่ธาตุที่ร่างกายต้องการในปริมาณมากต่อวัน ได้แก่ โซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม ฟอสฟอรัสและ แมกนีเซียม
Trace elements เป็นแร่ธาตุที่ร่างกายต้องการในปริมาณ
น้อย ได้แก่ สังกะสี โครเมียม คอปเปอร์ แมงกานีส