Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยชักนำให้เกิดการคลอด, นายสมยศ ไสยรส รหัส6314991028 - Coggle Diagram
ปัจจัยชักนำให้เกิดการคลอด
ทฤษฎีการกระตุ้นของออกซิโทซิน
(Oxytocin Theory)
การเจ็บครรภ์ตามธรรมชาติ เกิดจากการกระตุ้น
ของออกซิโตซิน ซึ่งหลั่งออกมาจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง
(Posterior pituitary gland)
ออกซิโตซินมีคุณสมบัติที่สามารถกระตุ้น
และเพิ่มการหดรัดตัวของมดลูกได้
ในระยะที่1 ของการคลอดระดับของออกซิโตซินไม่ได้สูงกว่าระดับปกติ แต่พบว่าจะสูงในระยะท้ายของระยะที่1 ของ
การคลอด เพื่อช่วยการคลอดและการหดรัดตัวของมดลูก
ในระยะหลังคลอด
ทฤษฎีการลดระดับของโพรเจสเตอโรน
(Progesterone Withdrawal Theory)
จากการทดทดลองในกระต่ายและแกะ พบว่าก่อนเริ่มเจ็บครรภ์จะต้องมีการลดลงของระดับโพรเจสเตอโรนเสมอ
การลดลงของโพรเจสเตอโรน ทำให้เกิดการเจ็บครรภ์ในสัตว์ทดลอง
แต่มีผู้ศึกษาในคนพบว่า ในระยะก่อนการเจ็บครรภ์ระดับของโพรเจสเตอโรนไม่ได้ลดลงเช่นในสัตว์ทดลอง
ทฤษฎีคอร์ติโซนของทารก
(Fetal Coortisol Theory)
คอร์ติโซนสร้างจากต่อมหมวกไตของทารก เป็นตัวเริ่มต้นของกระบวนการเจ็บครรภ์ในมารดา
ทารกในครรภ์สร้างคอร์ติโซนมากขึ้น เมื่ออายุครรภ์มากขึ้น
ทฤษฎีพรอสตาแกลนดิน
(Theories of labor onset)
พลอสตาแกลนดิน (PG) มีฤทธิ์ต่อกล้ามเนื้อเรียบของมดลูกมีอยู่หลายชนิด แต่ละชนิดที่มีผลต่อการหดรัดตัวของมดลูก คือ PGE2 และ PGF2แอลฟา สร้างจากถุงน้ำคล่ำ
มีผลต่อปากมดลูกทำให้ปากนุ่ม
ทฤษฎีการยืดขายของมดลูก
(Uterine stretch theory)
เมื่อมดมีการขยายถึงขีดสุดแล้วจะเกิดการกระตุ้นให้มดลูก
มีการหดรัดตัวและเจ็บครรภ์
เพื่อบีบไล่ทารกออกมา พบในครรภ์ที่ครบกำหนด
แต่บางกรณีที่อายุครรภ์ยังไม่ครบกำหนด มดลูกมีการยืดขยายมากก็อาจเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดได้
ครรภ์แฝด
ครรภ์แฝดน้ำ เนื่องจากมดลูกโตกว่าอายุครรภ์จริง
ทฤษฎีความดัน
(Pressure theory)
เมื่อใกล้คลอด การเคลื่อนต่ำของส่วนนำจะไปกระตุ้นตัว
รับรู้ความดัน (Pressure receptor) ที่มดลูกส่วนล่างส่งพลังประสาทไปกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหลังให้หลั่งออกซิโตซิน และมีผลให้มดลูกมีการหดรัดตัวเกิดการเจ็บครรภ์คลอดขึ้น
ทฤษฎีอายุของรก
(Placental aging theory)
เมื่ออายุครรภ์ครบกำหนดหรือเกิน 40 W. การไหลเวียนของเลือดที่รกน้อยลง ทำให้เนื้อเยื่อของรกขาดเลือดไปเลี้ยงและเสื่อมสภาพ เป็นผลผลิตฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนลดลง จำเป็นสาเหตุเจ็บครรภ์คลอด
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี
กล้ามเนื้อมดลูกมีตัวรับ (receptor) 2ตัว
Alpha receptorเพิ่มขึ้น และกระตุ้น contraction
Beta receptorเพิ่มขึ้น และยับยั้ง contraction
การตั้งครรภ์ระยะแรก progesterone เพิ่มขึ้น beta เพิ่มขึ้น
การตั้งครรภ์ระยะหลัง estrogen เพิ่มขึ้น alpha เพิ่มขึ้น
ทฤษฎีการกระตุ้นของฮอร์โมนเอสโคตรเจน
(Estrogen stimulating theory)
ระยะใกล้คลอด ฮอร์โมนEstrogen จะเพิ่มขึ้นในกระแสเลือดทำให้ myosin ซึ่งเป็นโปรตีนหดรัดตัวในกล้ามเนื้อมดลูกเพิ่มขึ้น และ adenosine triphosphate:ATP ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานในการหดรัดตัวของมดลูกเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ฮอร์โมน Estrogen ยังช่วยในการสังเคราะห์ PG ที่รกและเยื่อหุ้มทารกด้วย
นายสมยศ ไสยรส รหัส6314991028