Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนทัศน์ใหม่ในการบรูณาการการจัดทรัพยากร และการบริหารทรัพยากรทางการศึกษ…
กระบวนทัศน์ใหม่ในการบรูณาการการจัดทรัพยากร
และการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา
กระบวนทัศน์ใหม่ (New Paradigm)
คำนิยามของ คำว่า “กระบวนทัศน์” (Paradigm)
Thomas S. Kuhn, 1970 กล่าวว่า กระบวนทัศน์
ผลสำเร็จทำงด้ำนวิทยำศำสตร์ (Scientific Achievement)
Robert T. Holt & John M. Richardson, 1977 กล่าวว่า
แบบแผน หรือกรอบเค้ำโครงที่กำหนด
รูปแบบและแนวทำงกำรศึกษำเชิงวิทยำศำสตร
Capra (1975) ได้ให้นิยำมของคำว่า ชุดของควำมคิด (Concepts)
ค่านิยม (Values) ควำมเข้ำ
กำรรับรู้ (Perceptions)
และกำรปฏิบัติหน้ำที่ร่วมกัน
ของคนกลุ่มหนึ่ง
Willis Harman (1976) กล่าวว่า แนวทำงพื้นฐำนที่ว่า
ด้วยความคิด การรับรู้คุณค่ำและการปฏิบัติการ
เฉพำะกับวิสัยทัศน์แห่งควำมจริง
แนวคิดกระบวนทัศน์ใหม่ (Concept on New Paradigm)
“กระบวนทัศน์ใหม่” (New Paradigm) และ
การเปลี่ยนย้ำยกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift)
ของเข้าได้รับควำมสนใจและมีอิทธิพลอย่ำงสูง
การบูรณาการ
กำรเชื่อมสิ่งหนึ่งหรือหลำยสิ่งเข้ำมำเป็นส่วนประกอบกับอีกสิ่งหนึ่งให้มีควำมสมบูรณ
กำรทำให้หน่วยย่อยที่มีอยู่ทั้งหลำยที่สัมพันธ์
อิงอำศัยซึ่งกันและกัน
เป็นควำมเชื่อมโยงขององค์ประกอบต่ำงๆ ไปด้วยกัน อย่ำงลงตัว
และอย่ำงสมดุล
กำรประสำนกลมกลืนกันของแผนกระบวนกำรสำรสนเทศ
การจัดสรรทรัพยำกร
การปฏิบัติกำร ผลลัพธ์ และการวิเครำะห์
กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษา
ความหมาย
แบบแผนและกรอบโครงสร้างที่ก าหนดรูปแบบหรือ
แนวทางการศึกษา
เป็นการศึกษาไร้พรมแดน
มีการใช้เทคโนโลยีมาเชื่อมโยงการทำงาน
เป้าหมายการศึกษา
เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดแก้ปัญหา
มีทักษะการทำงานร่วมกัน
ก่อให้เกิดรายได้ในอนาคต
กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษากับการพัฒนาครูไทยในยุคดิจิทัล
ครู
มีบทบาทในการสนับสนุนการศึกษา
เป็นผู้ควบคุมห้องเรียนในรูปแบบออนไลน์
ต้องมีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
นักเรียน
มีทักษะการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
มีทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
เห็นคุณค่าของความเป็นมนุษย์
กระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารการศึกษา
การบริหารการศึกษา
กระบวนทัศน์ใหม่
เน้นการเป็นผู้พัฒนานโยบาย
ให้ความสำคัญกับการขัดเเย้ง
เน้นการมีพลวัตในการเปลี่ยนแปลง
กระบวนทัศน์เดิม
เน้นการบริหารงานเกี่ยวกับภายในองค์กรเป็นหลัก
ปฎิบัติตามนโยบายที่วางไว้
ยึดถือความเป็นเหตุเป็นผลในบรรทัดฐานการตัดสินใจ
กระบวนทัศน์ด้านการบริหารการศึกษา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การมีส่วนร่วม
การมุ่งผลสัมฤทธิ์
การจัดการองค์กร
ประสิทธิผลของการจัดการคุณภาพ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารการศึกษา
ความเป็นผู้นำ
การบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรและการจัดการเรียรรู้
สภาพแวดล้อมและบรรยายกาศเอื้อต่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีในการบริหารทรัพยากรงบประมาณยุคดิจิทัล
กระบวนทัศน์ใหม่การบูรณาการการบริหารทรัพยากร
งบประมาณทางการศึกษา
การระดมทุนเพื่อการศึกษา
ผ่านแพลตฟอร์มบนเว็บไชต์
ประชาชนร่วมบริจาคออนไลน์
ระบบบริจาคอิเล็คทรอนิกส์
ช่องทำงกำรรับข้อมูลได้ 2 ช่องทำง
กรณีรับบริจำคเป็นเงินสด
หน่วยรับบริจำคจะเป็นผู้บันทึกข้อมูลกำรรับบริจำคบนระบบ
บริจำคอิเล็กทรอนิกส์
กรณีรับบริจำคโดยผ่ำนกำรให้บริกำรของธนำคำรพำณิชย์ (QR Code)
ธนำคำรพำณิชย์จะ
เป็นผู้ส่งข้อมูลกำรรับบริจำคให้กรมสรรพำกรตำมที่ผู้บริจำคแจ้งความประสงค์
ประโยชน์ของระบบบริจาคอิเล็กทรอนิกส
ผู้บริจาค
ได้รับคืนเงินภาษีเร็วขึ้น
ไม่ต้องจัดเก็บหลักฐำนกำรบริจำค
สามารถตรวจสอบข้อมูลการบริจำคได้ตลอด 24 ชั่วโมง บนเว็บไซต์กรมสรรพำกร
หน่วยรับบริจาค
ไม่ต้องจัดทำหลักฐำนการบริจาคเป็นกระดาษ
ไม่ต้องจัดเก็บสำเนาหลักฐานการบริจาค
ไม่ต้องจัดเก็บสำเนาหลักฐานการบริจาค
เข้ำดูข้อมูลกำรรับบริจำคได้ตลอด 24 ชั่วโมง บนเว็บไซต์กรมสรรพำกร www.rd.go.th
ลดค่าใช้จ่ำยในกำรจัดทำหลักฐาน
แนวคิดการบริหารทรัพยากรงบประมาณทางการศึกษา
ความหมาย
กำรจัดสรร กำรใช้งบประมำณที่ได้รับให้ถูกต้องให้เป็นไปตำมวัตถุประสงค์
มีกำรประเมินระบบงบประมำณ กำรระดมและสรรหำงบประมำณ
การบริหารงบประมาณสถานศึกษา
ประเภทของงบประมาณสถานศึกษา
งบประมาณแผนดิน
เงินงบกลาง
เงินรายจ่ายส่วนราชการ
เงินนอกงบประมาณ
เงินบริจาค
เงินที่ได้จากการขายผลผลิตสถานศึกษา
กระบวนการบริหารทรัพยากรงบประมาณ
การใช้งบประมาณ
ใช้เงินตามวัตถุประสงค์
ใช้เงินตามหลักเกณฑ์ของหน่วยงานต้นสังกัด
การใช้จ่ายงบประมาณูกต้องตามระเบียบ
แผนควบคุมงบประมาณ
การประมาณผลการบริหารงบประมาณ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีใน
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ยุคดิจิทัล
แนวคิดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
บุคคลกรภายในสถานศึกษา
ครู ซึ่งเป็นทรัพยำกรมนุษย์ที่สำคัญ
ที่สุดที่ส่งผลโดยตรงต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
ปัจจัยแรงกดดันของการบริหารทรัพยกรมนุษย์ทางการศึกษา
.ปัจจัยแรงกดดันจากการเมือง (Political Forces)
ปัจจัยแรงกดดันทางด้านเศรษฐกิจ (Economic Forces)
ปัจจัยแรงกดดันทางด้านวัฒนธรรม (Cultural Forces)
รูปแบบการบริหาร
ทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
รูปแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์และการเรียนรู้ของนักเรียน
รูปแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาที่มุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ขอบเขตและกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของการศึกษาแนวใหม่
การวางแผนทรัพยำกรมนุษย์ (Human Resource Planning)
การออกแบบโครงสร้ำงองค์กรและกำรออกแบบงำน (Organization and Job Design
การสรรหาและการคัดเลือก (Recruitment and Selection)
การพัฒนาบุคลากร (Human Resource Development)
กำรประเมินผลกำรปฏิบัติงาน (Performance Appraisal)
การบริหารรค่าตอบแทน (Reward)
กำรบริหารเส้นทางสายอาชีพและกำรทดแทนตำแหน่ง
งานบุคลากรสัมพันธ์และงานวินัย (Human Relations and Discipline)
การบูรณาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things)
)
ปัญญำประดิษฐ์ (Aritficial Intelligence)
กระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารทรัพยากรมนุษย์
ความแตกต่างของแนวคิดและฐาน
ยุคศตวรรษที่ 21
งาน ประสาทความร่วมมือ
คน ทรัพยากรทางการศึกษาควรพัฒนา
เทคโนโลยี บูรณาการเข้าระบบสังคม
ภาวะผู้นำเป้าหมายองค์กร เน้นสร้างคุณค่าส่วนได้ส่วนเสีย
ภาวะผู้นำ เป็นผู้นำระดับองค์กร
ศตวรรษที่ 20
งาน แบบแยกส่วนต่างคนต่างทำ
ถูกออกแบบเพื่อควบคุมการทำงาน
คน ต้องมีการกำกับควบคุม
ผู้จัดการอาวุโส ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำเป้าหมายองค์กร มุ่งตอบแทนผู้ถือหุ้น
นายณัฐวุฒิ บุญนาค
รหัสนักศึกษา 64U54620204
สาขาวิชานวัตกรรมการบริหารการศึกษา :