Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวัด พฤติกรรมทางการศึกษา F621B111-641B…
วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวัด พฤติกรรมทางการศึกษา
การประเมินสภาพจริง
ความหมาย
เป็นฐานในการตัดสินใจถึงความสามารถและคุณลักษณะผู้เรียน
เน้นการวัดผลทักษะการคิดที่ซับซ้อน ในการทำงานของผู้เรียน
กระบวนการการสังเกต บันทึก และรวบรวมข้อลมูลจากงานและวิธีการที่ผู้เรียนทำ/ปฏิบัติ)
การวางแผนการจัดการประเมินสภาพจริง
วางแผนกิจกรรม และการประเมินจากสภาะจริง
คำนึงถึงผู้เกี่ยวข้องในการประเมิน
กำหนดจุดประสงค์และเป้าหมายการประเมิน
ดำเนินกิจกรรมและนำผลไปใช้
เครื่องมือที่ใช้
แบบสัมภาษณ์
แบบประเมินภาคปฏิบัติ
แบบสังเกต
แบบประเมินแฟ้มสะสมงาน
การปฏิบัตจริง
ความหมาย
ผลงานของผู้เรียนทั้งในสถานการณ์จริงหรือสถานการณ์จำลอง
วิธีการวัดผลด้านทักษะการใช้กล้ามเนื้อ
ลักษณะของสิ่งที่วัด
วิธีการปฏิบัติหรือพฤติกรรมที่แสดงทักษะการปฏิบัติได้
ผลงานหรือผลการปฏิบัติในทางกิจกรรม
อาจมีผลงานเป็นชิ้นเป็นอัน
การปรุงอาหาร
การวาดภาพ
การประดิษฐ์ของใช้
วิธีการที่ใช้วัด
การสังเกต
การสัมภาษณ์หรือการซักถาม
เครื่องมือใช้วัด
แบบสำรวจรายการ
แบบจัดอันดับคุณภาพ
แบบสอบถาม
ความหมาย
เป็นชุดของคำถามเพื่อวัดสิ่งที่ต้องการและนิยมใช้วัดด้านจิตพิสัย
เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่นิยมใช้มากกับข้อมูลทางสังคมศาสตร์
โครงสร้างของแบบสอบถาม
ส่วนที่ 1 คำชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม
จุดมุ่งหมาย
ความสำคัญ/ประโยชน์ในการใช้ข้อมู
อธิบายลักษณะของแบบสอบถาม/ยกตัวอย่าง
ขอบคุณที่ให้ความร่วมมือ + ลงชื่อจริง
ส่วนที่ 2 สภาพทั่วไป
รายละเอียดของผู้ตอบแบบสอบถาม
เพศ
อายุ
ระดับการศึกษา
อาชีพ
รายได้
สถานภาพ
ส่วนที่ 3 ข้อคำถามเกี่ยวกับพฤติกรรมที่จะวัด
ข้อคำถามต่างๆ ที่ตรงกับพฤติกรรมที่ต้องการวัด
สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการเก็บข้อมูล
รูปแบบของแบบสอบถาม
แบบสอบถามชนิดปลายเปิด
ไม่กำหนดคำตอบไว้ ให้เขียนคำตอบอย่างอิสระ
ให้แสดงความคิดเห็นหรือบรรยายความรู้สึกด้านจิตใจ
ยากและเสียเวลาในการตอบมาก เพราะผู้ตอบต้องใช้วิเคราะห์
สร้างง่าย แต่วิเคราะห์และสรุปผลยาก
แบบสอบถามชนิดปลายปิด
ประกอบด้วยข้อคำถามและตัวเลือก
คำตอบต้องกำหนดไว้หลายๆ อย่างและครอบคลุมที่สุด
คำตอบที่ต้องการจะแล้วแต่จุดประสงค์การศึกษา
ตอบง่าย สะดวก รวดเร็ว
วิเคราะห์และสรุปผลง่าย
การใช้แฟ้มสะสมงาน
เครื่องมือที่ใช้
แบบประเมินผลงาน
แบบประเมินตนเอง
แบบบันทึก
จำแนกผลงานออกตามกิจกรรมต่าง ๆ
การทำกานทดลอง
การอภิปราย วางหัวข้อและข้อมูลที่ใช้ในการอธิบายปราย ผลที่ได้รับ และสรุป
การฟังบรรยาย มีสมุดจดคำบรรยาย
การศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
การศึกนอกสถานที่
การบันทึกรายงาน
การสังเกต
รูปแบบของการสังเกต
การสังเกตโดยผู้สังเกตเข้าไปร่วมในเหตุการณ์หรือกิจกรรม
ไม่สามารถจดบันทึกได้ทันที กลับมาบันทึกภายหลัง
ต้องใช้เวลาสังเกตนาน ๆ
มีส่วนร่วม คลุกคลี ทำกิจกรรมด้วย
สังเกตโดยไม่ให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัว เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นธรรมชาติ
การสังเกตโดยผู้สังเกตไม่ได้เข้าไปร่วมในเหตุการณ์หรือกิจกรรม
การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง
ไม่ได้สังเกตเฉพาะเรื่องที่กำหนดเท่านั้น
แต่สังเกตเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย
เป็นการสังเกตเรื่องใหม่ ๆ ที่ผู้สังเกตไม่รู้ภูมิหลังมาก่อน
จึงไม่สามารถกำหนดรูปแบบที่แน่นอนได้
การสังเกตแบบโครงสร้าง
กำหนดเรื่องที่จะสังเกตไว้ล่วงหน้า
มีฟอร์มบันทึกการสังเกต เพื่อสะดวกและไม่สับสน
ข้อดีของการสังเกต
ถ้าจัดสถานการณ์การสังเกตเหมาะ จะได้พบพฤติกรรมที่แท้จริง
ใช้สังเกตได้ทุกเวลาและทุกสถานที่
ใช้ศึกษากับบุคคลได้ทุกเพศ ทุกวัย หรือทุกระดับความรู้
ใช้ศึกษาพฤติกรรมได้ทุกด้านเท่าที่บุคคลจะแสดงออกให้เห็นได้
ข้อจำกัดการสังเกต
ผู้สังเกตอาจเกิดความลำเลียง
ทำให้พฤติกรรมที่สังเกตเบี่ยงเบนไปจากพฤติกรรมที่แท้จริง
ถ้าผู้สังเกตรู้ตัวจะเกิดการระมัดระวังตัว หรือปิดบังซ่อนเร้นพฤติกรรมที่แท้จริง
อาจจะต้องใช้เวลาสังเกตนาน
การสังเกตต้องการข้อมูลเชิงลักษณะที่ต้องพรรณนาอย่างเอียด
ต้องสังเกตหลาย ๆ ครั้ง
หลักทั่วไปในการสังเกต
บันทึกเฉพาะสิ่งที่สังเกตเห็นเท่านั้น ไม่ต้องใส่ความรู้สึก
ก่อนสรุป ควรสังเกตหลาย ๆ ครั้ง
ควรสังเกตโดยไม่ให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัว
ผู้สังเกตต้องมีความพร้อมในการสังเกต
กำหนดรายการพฤติกรรมที่จะสังเกตให้ชัดเจน
มีจุดมุ่งหมายในการสังเกตที่แน่นอน
การประเมินภาคปฏิบัติ
การตรวจผลงาน
เป็นการวัดและประเมินด้วยการกำหนดงาน กิจกรรม
หรือแบบฝึกหัด ให้ผู้เรียนได้ฝึกฝน ปฏิบัติ และครูทำหน้าที่
ตรวจเช็คความถูกต้องด้วยตนเอง
เครื่องมือ
แบบประเมินผลงาน
แบบทดสอบ
แบบบันทึกพฤติกรรม
แบบมาตราประเมินค่า
แบบตรวจสอบรายงาน
ลักษณะที่สำคัญของการประเมินภาคปฏิบัติ
เป็นการวัดใันสภาพธรรมชาติ/สถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลอง
เหมาะกับวิชาที่เน้นการปฏิบัติมากกว่า
สามารถวัดประเมินได้ทั้งกระบวนการและผลงาน
สามารถวัดประเมินควบคู่ไปกับภาคปฏิบัติ
เน้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ
การสัมภาษณ์
รูปแบบของการสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง
ผู้สัมภาษณ์ต้องใช้เทคนิคเฉพาะตัวเพื่อให้ได้ตอบคำถาม
ผู้ตอบแสดงความรู้สึก ความคิดเห็นโดยอิสระ
เป็นการซักถาม
ไม่ใช้แบบสัมภาษณ์
บรรยากาศค่อนข้างเป็นธรรมชาติ
เพราะเป็นสถานการณ์ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้เสมอ
การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
กำหนดจุดมุ่งหมายของการสัมภาษณ์ที่แน่นอน
กำหนดข้อสัมภาษณ์ให้ครอบคลุม
ศึกษาหรือฝึกเทคนิคและทักษะการสัมภาษณ์
นัดแนะเวลาและสถานที่จะให้สัมภาษณ์
มีการจดบันทึกคำสัมภาษณ์ลงในแบบฟอร์มที่เตรียมไว้
รูปแบบการสัมภาษณ์
ส่วนที่ 2 รายละเอียดส่วนตัวของผู้ถูกสัมภาษณ์
ชื่อผู้ถูกสัมภาษณ์
เพศ อายุ สถานภาพ ศาสนา
จำนวนสมาชิกในครอบครัว
อาชีพของบิดามารดา
ส่วนที่ 3 รายละเอียดเกี่ยวกับการสัมภาษณ์
ข้อคำถามต่างๆ ที่ทำให้ได้มาซึ่งคำตอบที่ตรงกับจุดมุ่งหมายที่ต้องการ
ส่วนที่ 1 บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการสัมภาษณ์
ชื่อโครงการ ชื่อเรื่อง
ชื่อผู้สัมภาษณ์
วัน เดือน ปี ที่สัมภาษณ์
ลักษณะบางประการของผู้ถูกสัมภาษณ์
เช่น ระดับชั้น ห้อง ตำบล จังหวัด
ข้อดีของการสัมภาษณ์
ผู้สัมภาษณ์มีโอกาสได้สังเกตปฏิกิริยาของผู้ตอบได้ทุกระยะ
เหมาะสมหรับการสอบถามผู้บริหารระดับสูงที่ไม่ค่อยมีเวลา
มีความยืดหยุ่น โดยเปิดโอกาสให้ผู้ให้สัมภาษณ์ได้ซักถามข้อคำถาม
ช่วยแก้ปัญหาการได้ข้อมูลกลับคืนมาน้อย
เหมาะสำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบเจาะลึก
ข้อจำกัดของการสัมภาษณ์
ใช้เวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล
สภาวะแวดล้อมมีผลต่อคำตอบที่ได้รับ
มีความสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากกว่าวิธีอื่น
การทดสอบ
ประเภทของแบบทดสอบ
แบ่งตามลักษณะการตอบ
แบบทดสอบภาคปฏิบัติ
แบบทดสอบข้อเขียน
แบบทดสอบปากเปล่า
แบ่งตามเวลาที่กำหนดให้
แบบทดสอบที่จำกัดเวลาในการตอบ
แบบทดสอบไม่จำกัดเวลาในการตอบ
แบ่งตามระบบการวัด
แบบทดสอบอิงกลุ่ม
แบบทดสอบอิงเกณฑ์
แบ่งตามรูปแบบของคำถาม
แบบทดสอบอัตนัย
มีเฉพาะคำถาม ให้ผู้เรียนตอบอย่างเสรี
แบบตอบสั้น
แบบเติมคำ
แบบทดสอบอัตนัย
แบบทดสอบปรนัย
มีทั้งคำคามและคำตอบเฉพาะคงที่แน่นอน
แบบจับคู่
แบบทำเครื่องหมายถูก ผิด
ทดสอบเลือกตอบ
แบ่งตามโอกาสที่ใช้
แบบทดสอบย่อย
แบบทดสอบรวม
แบ่งตามลักษณะของสิ่งเร้า
แบบทดสอบทางภาษา
แบบทดสอบที่ไม่ใช้ภาษา
รูปภาพ
ตัวเลข
สัญลักษณ์
แบ่งตามพฤติกรรมที่วัด
แบบทดสอบวัดความถนัด
แบบทดสอบวัดความถนัดทางการเรียน
แบบทดสอบวัดความถนัดเฉพาะ
แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพและทางสังคม
วัดบุคลิกภาพและการปรับตัวให้เข้ากับสังคม
แบบวัดเจตคติที่มีต่อบุคคล สิ่งของ เรื่องราว
แบบวัดความสามารถในการเผชิญปัญหาและฟันฝ่าอุปสรรค
แบบวัดการปรับตัว
แบบวัดความสนใจที่มีต่ออาชีพ งานอดิเรก
แแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
แบบทดสอบที่ครูสร้าง
แบบทดสอบมาตรฐาน
แบ่งตามจำนวนผู้เข้าสอบ
แบบทดสอบเป็นรายบุคคล
แบบทดสอบรายบุคคล
การวัดและการประเมินแบบอื่นๆ
การใช้เทคนิคการฉายภาพ
การวัดเชิงสถานการณ์
การรายงานตนเอง
การวัดจากร่องลอย
คุณลักษณะของเครื่องมือวัดพฤติกรรม
ทางการศึกษาที่ดี
มีประสิทธิภาพ
มีความยาก
มีความเป็นปรนัย
มีอำนาจจำแนก
มีความเชื่อมั่น
มีความยุติธรรม
มีความเที่ยงตรง
ถามลึก
มัลักษณะจูงใจให้ทำ
นางสาวปาลิตา ศรีภุมมา
รหัสนักศึกษา631120224