Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการทำงานและการเรียนรู้ของสมองเด็กปฐมวัย, eda8d668601c3d04b56a325bafc52…
หลักการทำงานและการเรียนรู้ของสมองเด็กปฐมวัย
สมองและการทำงานของสมอง
สมอง ( Brain ) คือ อวัยวะส่วนสำคัญของมนุษย์
และในสัตว์ต่างๆ เป็นอวัยวะที่ยืดหยุ่นซึ่งมีความมหัศจรรย์
ที่ถูกวิวัฒนาการมาเพื่อความอยู่รอด
สมองมนุษย์มีระบบที่ซับซ้อนที่สุด
ในบรรดาสมองของสัตว์ทุกชนิด
สมองแบ่งเป็น 3 ส่วน
Reptilian brain สมองส่วนสัตว์เลื้อยคลาน
สัญชาตญาณการเอาตัวรอด
Paleo Mammalian Brain สมองสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมยุคเก่า
อารมณ์ความรู้สึก
Neo Mammalian Brain สมองสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมยุคใหม่
การคิดขั้นสูง
ช่วงปฐมวัยเป็ยช่วงที่สมองพัฒนาสูงสุด
ทารกแรกเกิดมีเซลล์สมองถึง ล้าน ล้าน เซลล์
ในช่วง 10 ปีแรกสมองสามารถสร้างจุดเชื่อมต่อถึง ล้าน ล้าน จุด
สมองและการเรียนรู้
หลักการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน
1.สมองต้องการอาหารกายอาหารใจ
2.สมองเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
3.สมองเรียนรู้ได้ดีเมื่อสมองส่วนอารมณ์เปิด
4.สมองเรียนรู้อยู่ 2 รูปแบบ คือแบบตั้งใจและแบบไม่ตั้งใจ
5.สมองเรียนรู้จากของจริงไปหาสัญลักษณ์ จากง่ายไปยาก
6.สมองเรียนรู้และจดจำผ่านการลงมือปฏิบัติจริง แล้วฝึกฝนจนเกิดทักษะ ความชำนาญ และค้นพบตนเอง
“หน้าต่างแห่งโอกาส”
(windows of opportunity)
ช่วงเวลาที่สมองเปิดรับการเรียนรู้ได้ดีที่สุด
เป็นโอกาสที่ธรรมชาติมอบให้ ว่าช่วงใดเหมาะสมกับการพัฒนาคุณสมบัติอะไร
เด็กวัย 0-2 ปี
ความผูกพัน และ ความไว้วางใจผู้อื่น
คุณสมบัติพื้นฐานของความเป็นมนุษย์
หากเด็กขาดคุณสมบัติทั้งสองข้อนี้ เมื่อโตขึ้นอาจทำให้ไม่สามารถสร้างความสัมพันธ์ที่มั่นคงกับผู้อื่นได้
เด็กวัย 3-5 ปี
การรู้จักถูกผิด และ การควบคุมอารมณ์ตัวเอง
เด็กวัย 6-9 ปี
การประหยัด มีวินัย และ ใฝ่รู้
หากพ้นช่วงที่ธรรมชาติกำหนดไปแล้ว การพัฒนาก็อาจเกิดขึ้นได้ยาก หรืออาจเป็นไปไม่ได้เลย