Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยมี Dry Desquamation, น.ส จุฑารัตน์ ต่อฑีฆะ เลขที่ 11…
ผู้ป่วยมี Dry Desquamation
การเปลี่ยนแปลงของผิวหนังที่เกิดขึ้นระหว่างการรักษาและภายใน 2 สัปดาห์หลังสิ้นสุดการรักษานั้น ถือว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังในระยะเฉียบพลัน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังในระยะนี้ก่อให้เกิดความไม่สุขสบายแก่ผู้ป่วยเป็นอย่างมาก ผู้ป่วยอาจต้องพักการฉายรังสีชั่วคราวจนกว่าแผลจะหาย ความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังแบ่งเป็น 4 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 อาการผิวหนังร้อนแดง (Erythema) จะเกิดขึ้นใน 24 ชั่วโมงแรกของการฉายรังสี
ระยะที่ 2 อาการผิวหนังคล้ำขึ้นจากการมีสารสีจับผิวหนัง (Hyperpigmentation)
ระยะที่ 3 อาการผิวหนังแห้งเป็นขุย และหลุดลอกเป็นสะเก็ดหรือแผ่นบาง ๆ (Dry Desquamation)
ระยะที่ 4 ผิวหนังแตกเป็นแผล และมีน้ำเหลืองซึม (Moist Desquamation)
4.ทักษะเฉพาะทางรังสีและรังสีร่วมรักษา 4.1.1 Skin (Desquamation)
แผนการรักษา : RT x 33F ปริมาณรังสี 212 cGy/ครั้ง ปริมาณรังสีรวม 6996 cGy เริ่ม 25/10/2564
HN : 16414967 ชายไทย อายุ75 ปี
Dx : CA Uvula (Oropharynx) T2N0M0 Stage 2 at Least
อาการสำคัญ : ผู้ป่วยมาตามนัด เพื่อรับรังสีรักษาครั้งที่ 28/33F
RT ครั้งที่ 23/33F เริ่มรู้สึกตึงผิวบริเวณคอ
ผู้ป่วยทาโลชั่น
ผิวลอก เป็นแผลกรัง
ประเมินผิวหนังบริเวณที่รับการฉายรังสีบริเวณใบหน้าและลำคอ โดยประเมินลักษณะผิวหนัง สี ความชุ่มชื้น แผล และอาการปวด
ทำความสะอาดผิวหนังบริเวณฉายรังสี ใบหน้าและลำคอ โดยการอาบน้ำที่อุณหภูมิปกติ ตักอาบ หรือหากใช้ฝักบัวต้องระวังไม่ให้น้ำแรงจนเกินไป
หลังอาบน้ำ ใช้ผ้านุ่มซับผิวหนังเบาๆให้แห้ง ร่วมกับการใช้มือพัดโบก หรือใช้พัดลมเป่าตัวให้แห้งก่อนสวมเสื้อผ้า
หลีกเลี่ยงการแกะหรือเกาบริเวณผิวหนังที่ได้รับการฉายแสง
ส่งปรึกษาแพทย์หากอาการรุนแรง
หลีกเลี่ยงการโดนแสงแดดแรงๆ เชน ในเวลา 10.00น. - 15.00 น
น.ส จุฑารัตน์ ต่อฑีฆะ เลขที่ 11 โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต