Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับอนามัยเจริญพันธุ์ การปฏิสนธิ และการวางแผนครอบครัว,…
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับอนามัยเจริญพันธุ์
การปฏิสนธิ และการวางแผนครอบครัว
การปฏิสนธิ (Fertilization)
กระบวนการการสืบพันธุ์
และการปฏิสนธิ
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์(Gometogenesis)
ชาย คือ อัณฑะ และต่อมเพศหญิง คือ รังไข่ ซึ่งการสร้างเซลล์สืบพันธุ์จะเกิดการลดจำนวนโครโมโซมลงครึ่งหนึ่ง จากDiploid number (46โคโมโซม) ลงมาเป็น Haploid number (23โคโมโซม) หญิง23 ชาย23 แล้วมารวมกัน
การปฏิสนธิและการฝังตัว
การปฏิสนธิ(Fertilization) การผสมของเซลล์เพศชายคืออสุจิ กับเซลล์เพศหญิงคือไข่ บริเวณampulla ของปีกมดลูก ปกติจะปฏิสนธิไข่และอสุจิอย่างละ1 จะปฏิสนธิจะเกิดภายใน1ชม.ในปีกมดลูก อสุจิอยู่ได้24-72ชม. ไข่อยู่ได้24ชม.
การปฏิสนธิ
1.อสุจิผ่าน Corona radiate ที่ล้อมรอบไข่อยู่
2.อสุจิ เจาะZona pellucida ย่อยสลายทางผ่านเข้าไปโดยเอนไซน์ที่ถูกปล่อยออกมาจาก acrosome
3.หัวของอสุจิสัมผัส กับผิวของไข่
4.ไข่มีปฏิกิริยาต่อการสัมผัสของอสุจิ เปลี่ยนแปลง Zona pellucina และเยื่อหุ้มไข่ไม่ให้อสุจิตัวอื่นเข้าไป เกิดการแบ่งตัวของ Secondary oocyte อย่างสมบูรณ์
5.หัวของอสุจิจะขยายใหญ่ขึ้นสร้างMale pronucleus และหางของอสุจิจะหายไป
6.เกิดการรวมตัวของนิวเคลียส และโครโมโซมทั้งสอง
การเปลี่ยนแปลงของไข่
ภายหลังปฏิสนธิ
1.Zygote มีจำนวนโครโมโซม46ซึ่งเป็นจำนวนโครโมโซมจำนวนปกติของมนุษย์
2.ภายในโครโมโซมจะมียีนที่เป็นองค์ประกอบของพันธุกรรมอยู่เป็นจำนวนมาก แต่ละตัวจะแตกต่างกันและควบคุมลักษณะของพันธุกรรมอย่างละหนึ่งอย่างหรือมากกว่า
3.การตรวจเพศของตัวอ่อน ดูได้โดยการดูชนิดของอสุจิ
ถ้าอสุจิเป็น X-bearing zygote จะเป็น xx จะพัฒนาไปเป็นเพศหญิง
ถ้าอสุจิเป็น Y-bearing zygote จะเป็น xy จะพัฒนาไปเป็นเพศชาย
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
ระยะก่อนเกิดตัวอ่อน(Zygote)
ตั้งแต่ 0-2สัปดาห์
ระยะตัวอ่อน(Embryonic period)
ตั้งแต่3-8สัปดาห์
ระยะทารก(Fetal period)
ตั้งแต่9-40สัปดาห์
การเจริญของเนื้อเยื่อภายในของทารกในครรภ์
1.เนื้อเยื่อชั้นนอก(Ectoderm)ส่วนที่ปกคุมภายนอก
2.เนื้อเยื่อชั้นกลาง(Mesoderm)
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
3.เนื้อเยื่อชั้นใน(Endoderm)อวัยวะภายใน
ระบบไหลเวียนโลหิต
สัปดาห์ที่3 เริ่มมีการแลกเปลี่ยนสารอาหารระหว่างเลือดของตัวอ่อนและเลือดของมารดาผ่าน Chorionic vili
ระบบหายใจ
อายุครรภ์24วันเริ่มมีถุงลม 16สัปดาห์เริ่มมีของเหลวในถุงลม 24สัปดาห์เซลล์ของถุงลมจะสร้างสารที่ช่วยลดความตึงผิวของถุง
ระบบประสาท
อายุครรภ์8w. ระบบประสาทเริ่มมีการพัฒนาทำให้ทารกก้มหัวและงอตัวได้
อายุครรภ์10w. ถ้ามีการกระตุ้นเฉพาะที่อาจมีการตอบสนอง อย่างกรอกตา
อายุครรภ์16W. มีกำนิ้วได้ดี การกลืน การหายใจ
อายุครรภ์24W. สามารถดูดได้
อายุครรภ์28W. ตาไวต่อแสง
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
อายุครรภ์12w. ไตสามารถขับปัสสาวะมาอยู่ในนำ้หล่อเลี้ยง
อายุครรภ์30W. ทารกปัสสาวะได้650Ml./วัน
ระบบอวัยัวะสืบพันธุ์
อายุครรภ์6W. เริ่มมีการพัฒนาต่อมเพศแต่ยังแยกเพศไม่ได้ พร้อมจะเป็นได้ทั้ง2เพศ อายุครรภ์3เดือนแยกเพศได้
ระบบทางเดินอาหาร
อายุครรภ์11w. ลำไส้เล็กเริ่มมีการบีบรัดตัว และดูดซึมน้ำตาลกลูโคสได้ดี
อายุครรภ์16W. เริ่มกลืนน้ำคร่ำและดูซึมน้ำจากลำไส้
ระบบภูมิคุ้มกัน
อายุครรภ์9w. พบ B lymphocytes ในตับ
อายุครรภ์12W. พบในเลือดและม้าม
อายุครรภ์13W. ภูมิคุ้มกันสามารถทำงานได้
อายุครรภ์14W. พบ T lymphocytes ในต่อมธัยมัส
การเจริญเติบโตและการพัฒนาของทารกในครรภ์
1-2 W.ระยะก่อนเกิดตัวอ่อน
3-8 W. ระยะตัวอ่อน
มีการเจริญ3อย่างชัดเจน
Trophoblast เจริญเป็นรกและchorion
Body stalk เจริญไปเป็นสายสะดือ
Embryoblast เจริญเป็นทารก น้ำหล่อเด็ก และamnion
5-8W. ระยะตัวอ่อน
ตัวอ่อนเริ่ดเหยียดตรง ยาว4ซม.หนัก3กรัม
มีศรีษะใหญ่ มีนิ้วมือ นิ้วเท้า
มีอวัยวะเพศ แต่ยังแยกไม่ได้ อวัยวะภายในมีการเจริญเติบโต
9-12W. ระยะทารก
ยาว7.5ซม. หนัก28กรัม
มีเล็บ นิ้วมือ นิ้วเท้า เปลือกตา หลอดเสียง ริมฝีปาก จมูกสูงขึ้น
อวัยวะเพศเห็นได้ชัด และมีการตอบสนอง
13-16 W. ระยะทารก
ยาว16ซม. หนัก120กรัม
สายสะดือยาวเท่ากันตัวทารก
ศีรษะมีสัดส่วนเป็น1ส่วน4ของความสูง
17-20W. ระยะทารก
ยาว25ซม. หนัก340-450กรัม
เริ่มมีขนอ่อน
สามารฟังเสียงหัวใจจากเครื่องผ่านหน้าท้อง
21-24W. ระยะทารก
ยาว30ซม. หนัก630 กรัม
ตาหลับและลืมได้ ผิวหนังเหี่ยวย่น
ปอดเริ่มสร้างสารSurfactant
25-28W. ระยะทารก
ยาว25ซม. หนัก1,200กรัม
มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ
29-32W. ระยะทารก
ยาว40ซม. หนัก1,700กรัม
Rooting reflex แรง
33-36W. ระยะทารก
ยาว45ซม. หนัก2,200-2,500กรัม
ผิวหนังตึง ขนอ่อนหายไปเกือบหมด
37-40W. ระยะทารก
ยาว50 ซม. หนัก3,000-3,400กรัม
มีความสมบูรณ์ของเด็กครบกำหนด
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
คุณภาพของอสุจิและไข่สิ่งแวดล้อมภายในมดลูก
การได้รับสารก่อวิรูป(สารเคมี เชื้อโรค)ระหว่างการตั้งครรภ์
ชนิดของยาที่สำคัญต่อทารก
Steroid hormones
Androgens
Progestogen
Terracyline
ควันบุหรี่
นายสมยศ ไสยรส รหัส6314991028