Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
INSTRUCTIONAL CONCEPTUAL - Coggle Diagram
INSTRUCTIONAL CONCEPTUAL
Teaching
Science of Teaching
ปรัชญาการศึกษา
แนวคิด/ทฤษฎี
บริบททางการสอน
หลักการ
ระบบ รูปแบบ วิธีการ เทคนิค
จิตวิทยาทางการเรียนรู้และการสอน
การวางแผนและออกแบบการจัดการเรียนการสอน
การดำเนินการเรียนการสอน
การวัดและการประเมินผล
Art of Teaching
วิธีการและเทคนิคต่าง ๆ ไปใช้ในการสอนเพื่อช่วยให้การสอน
Teaching Context
สิ่งแวดล้อม
รูปธรรม
นามธรรม
อิทธิพล
จุลภาค
มหาภาค
Pedagogy
Pedagogical Content Knowledge (PCK)
การบูรณาการ
ด้านเนื้อหา
ความรู้ด้านการสอน
Technological Pedagogical
Content Knowledge
(TPCK)
การบูรณาการ
Content Knowledge: CK
Technology Knowledge: TK
Educational Philosophy
ปรัชญาแม่บท
ความรู้และความจริง
ความเชื่อ
คุณค่า
Learning
Learning Theory
การทดสอบตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ได้รับการยอมรับว่าเชื่อถือได้
นำไปใช้เป็นหลักในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนได้
Learning/ Teaching Principle
ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ซึ่งได้รับการพิสูจน์
หลักการในการเรียนรู้
นำไปสู่การสร้างทฤษฎีการเรียนรู้ได้
Learning/ Teaching Approach
แนวทางการสอน
นักจิตวิทยา นักการศึกษา เสนอไว้
Learning outcomes
ความเข้าใจในเนื้อหาวิชา
ทักษะหรือความสามารถในการนำความรู้ไปใช้
พฤติกรรม
ทัศนคติ
แนวคิด
ความเชื่อ
Instruction
Instructional Design
Learning
Planning
Method
Learner
Media
Theory
Instruction
Instructional Design Model
กำหนดจุดประสงค์และสาระสำคัญของแผนการจัดการเรียนรู้
วิเคราะห์จุดประสงค์ สื่อและสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งศักยภาพของผู้เรียนและผู้สอน
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับจุดประสงค์
ออกแบบปฏิสัมพันธ์ในแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเลือกใช้กระบวนการกลุ่มที่เหมาะสมกับกิจกรรมนั้น ๆ
เตรียมใบช่วยสอน สื่อ/อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ
ออกแบบการประเมินผลและเครื่องมือ
จัดการเรียนรู้และบันทึกผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
ปรับปรุงและพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้
Instructional Research
สร้างองค์วามรู้ใหม่
บรรยายข้อเท็จจริง/ปรากฏการณ์
หาสาเหตุการเกิดปรากฏการณ์ต่างๆ
แก้ปัญหาที่ถูกวิธี
ตัดสินใจด้าเนินการบางอย่างให้มีประสิทธิภาพ
พัฒนาสิ่งประดิษฐ์ใหม่
พยากรณ์ส่ิงที่จะเกิดใหม่ในอนาคต
Teaching/Learning
System
การเรียนการสอนที่ได้รับการจัดให้มีความสัมพันธ์กันและส่งเสริมกันอย่างเป็นระบบ
Model
แบบแผนการดำเนินการสอนที่ได้รับการจัดเป็นระบบสัมพันธ์สอดคล้องกับ
ทฤษฎี
เกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายเฉพาะ
หลักการเรียนรู้
ได้รับการพิสูจน์ทดสอบว่ามีประสิทธิภาพ
Process
กระบวนการดำเนินการเรียนการสอนตามแผนที่กำหนดไว้
Technique
Co – operative Leanning
Brainstorming
Practice
Simulation
Demonstration Method
Project Method
Gamification
Induction/Deduction
Skill
การออกแบบการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
การใช้วิธีสอน
เทคนิคการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
ระบบการสอน
สื่อการสอน
การประเมินผลการเรียนการสอน
Stategy
สภาวะการเรียนการสอนพื้นฐานแบบปกติ
ความต้องการของทฤษฎีการเรียนการสอน
ธรรมชาติของทฤษฎีการเรียนการสอน
ฤษฎีการเรียนการสอนควรชี้เฉพาะประสบการณ์ซึ่งปลูกฝังบ่มเฉพาะบุคคล ให้โอนเอียงสู่การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
ทฤษฎีการเรียนการสอนต้องชี้เฉพาะวิธีการจัดโครงสร้างองค์ความรู้เพื่อ เกิดความพร้อมที่สุดสําหรับผู้เรียน
ทฤษฎีการเรียนการสอนควรชี้เฉพาะขั้นตอนที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการ นำเสนอสิ่งที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ควรชี้เฉพาะธรรมชาติและช่วงก้าวของการให้รางวัลและ การลงโทษ
ทฤษฎีการเรียนการสอน
ทฤษฎีการเรียนการสอนของกาเย่และบริกส์
ทฤษฎีการสอนของเมอร์ริลไรเกลท (Merrill - Reigelath)
ทฤษฎีการสอนของเคส (Case)
ทฤษฎีการสอนของลันดา (Landa)
หลักการเรียนรู้
การแนะนำบทเรียน
เตรียมความพร้อม
การนำเสนอเนื้อหาใหม่
การนำเสนอเนื้อหา
การฝึกปฏิบัติ
เร่งการเรียนรู้ช่วยให้จดจำได้นาน
การปฏิบัติที่เปิดเผยหรือไม่เปิดเผย
แบบเปิดเผย
การเขียนคำตอบ
การนำเสนอ
การพูดปากเปล่า
แบบไม่เปิดเผย
การคิดคำตอบ
การวิเคราะห์
การสังเคราะห์
ตารางการฝึกปฏิบัติ
ตามช่วงวัย
ตามศักภาพ
การปฏิบัติเชิงเปลี่ยนแปลง
การวิจัยการเรียนรู้
การเข้าใจผู้เรียนและการเรียนรู้
ความสามารถของผู้เรียน
แรงจูงใจ
ธรรมชาติของภาระงานการเรียนรู้
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนรู้และวิธีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
Innovation
การสอนเชิงสร้างสรรค์
กระตุ้นความคิดของนักเรียน
สามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียน
ส่งเสริมแนวคิดที่แตกต่างของนักเรียน
เครื่องมือเสียงและวิดีโอ
ภาพสไลด์
ภาพยนตร์
ภาพอินโฟกราฟิก
Mind Mapping
การเรียนรู้ "โลกแห่งความจริง"
การเชื่อมโยง
สถานการณ์จริงในชีวิตประจำวัน
สาธิต
ระดมสมอง
ชั้นเรียนนอกห้องเรียน
ทัศนศึกษา
เรียนรู้และจดจำ
พานักเรียนออกไปเดินเล่นนอกห้องเรียน
การสอนสตอรี่บอร์ด
สร้างผังมโนภาพทางความคิด
เข้าใจความคิดที่ซับซ้อนได้อย่างง่ายดาย
นักเรียนเล่าเรื่องจากภาพ
กระตุ้นสภาพแวดล้อมของห้องเรียน
ในห้องเรียน
นอกห้องเรียน
เปิดรับแนวคิดใหม่ ๆ
เปิดใจ
ประเมิน
ปรับปรุง
ปริศนาและเกม
จัดตั้งสโมสรหรือกลุ่มโรงเรียน
อ้างอิงหนังสือเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์
แนะนำบทเรียนเช่นเดียวกับเรื่องราว
บทบามสมมติ
เข้าใจว่าเนื้อหาทางวิชาการ
ปรับให้เหมาะสมกับนักเรียนแต่ละวัย
Method
การเตรียมสาระที่จะบรรยาย
การบรรยายสาระโดยการพูด บอก เล่า
การประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
Bloom’s Taxonomy
The cognitive domain (knowledge-based)
Knowledge
Comprehension
Application
Analysis
Synthesis
Evaluation
The affective domain (emotion-based)
Receiving
Responding
Valuing
Organizing
Characterizing
The psychomotor domain (action-based)
Perception
Set
Guided response
Mechanism
Complex overt response
Adaptation
Origination
Child-centered
เกิดองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง
วิธีการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความสนใจของผู้เรียน
ครูเป็นผู้สนับสนุนและอำนวยความสะดวก
Child-oriented
การสอนที่เน้นให้ผู้เรียนสร้างความรู้และสิ่งประดิษฐ์ใหม่
ใช้กระบวนการทางปัญญา
กระบวนการทางสังคม
ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์และมีส่วนร่วมในการเรียน
OUTCOME & OUTPUT
OUTCOME
ผลที่เกิดขึ้นต่อยอดจากผลผลิต
ผลระยะยาวซึ่งเกิดเป็นผลจุดหมายปลายทาง
OUTPUT
ผลที่เกิดขึ้นทันที
คุณภาพของนักเรียน
สมรรถนะของผู้เรียน
CIPP & CIPPA MODEL
CIPP Model (Stufflebeam’s)
Context Evaluation: C
เข้าใจ่งาย
วิธีการสื่อสารทางความคิด
แผนภูมิ แผนผัง
ความเข้าใจ
จินตนาการที่มีต่อปรากฎการณ์
Input Evaluation: I
Process Evaluation: P
Product Evaluation: P
CIPPA Model (ทิศนา แขมมณี)
Interaction
Physical Participation
ขั้นตอนการจัดกิจกรรม
ขั้นทบทวนความรู้เดิม
ขั้นแสวงหาความรู้ใหม่
ขั้นศึกษาทำความเข้าใจความรู้ใหม่
ขั้นแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม
หลักการ
เน้นให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด
การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ
สามารถสร้างความรู้ ค้นพบความรู้ได้ด้วยตนเอง
นักเรียนมีบทบาทมากในกิจกรรมการเรียนการสอน
ผู้เรียนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ขั้นสรุปและจัดระเบียบความรู้
ขั้นแสดงผลงาน
ขั้นประยุกต์ใช้ความรู้
Process Learning
Application
Construct
Education Bill/ Education Act
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
ด้านความเสมอภาคของโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ด้านมาตรฐานคุณภาพการศึกษา
ด้านระบบบริหารและการสนับสนุนทางการศึกษา
ด้านครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ด้านหลักสูตร
ด้านกระบวนการเรียนรู้
ด้านทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
Competency/ competency-based instruction
ครูมีมาตรฐานสมรรถนะ
ครูต้องวิเคราะห์ว่า ผู้เรียนจำเป็นต้องรู้อะไร
ครูจัดกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก
ครูจัดประสบการณ์
ความรู้
ทักษะ
สมรรถนะที่ต้องการ
คุณลักษณะ
ผู้เรียนรับผิดชอบการเรียนรู้ของตน
ครูมีบทบาทในการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
Feedback
Feed Up
Feed Forward
ผู้เรียนต้องสามารถแสดงสมรรถนะ
ครูจำเป็นต้องออกแบบการเรียนรู้และสอนซ่อมเสริม (remedial teaching)