Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 11 (91727) การวางแผนและการประเมินผลการสื่อสารเชิงกลยุทธ์เพื่อการส…
หน่วยที่ 11 (91727) การวางแผนและการประเมินผลการสื่อสารเชิงกลยุทธ์เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวางแผน
การวางแผนการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
การวางแผนกลยุทธ์
มีขอบเขตที่กว้าง เป็นแผนระยะยาว มองภาพรวมการสื่อสารขององค์การ
การวางแผนปฏิบัติการ
นำแผนกลยุทธ์มาจัดทำรายละเอียด เพื่อปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนกลยุทธ์
กระบวนการวางแผน
รเตรียมการสู่การปฏิบัติจริง
เตรียมแผนสำรอง
กำหนดวิธีการประเมินผลและตัวชี้วัด
สร้างการยอมรับแผนกลยุทธ์
การวิเคราะห์สถานการณ์
วิเคราะห์สถานการณ์และปัญหา
วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย
กำหนดแนวทางกลยุทธ์
กำหนดงบประมาณ
กำหนดสาร วิธีการสื่อสาร และสื่อ
กำหนดกลยุทธ์และวัตถุประสงค
แนวคิดการวางแผนการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
ความสำคัญ
ต่อหน่วยงานส่งเสริมการเกษตร
ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ
ยเป็นกรอบในการตัดสินใจของผู้บริหารและนักส่งเสริมการเกษตร
ทำงานได้ต่อเนื่องแม้จะมีการสับเปลี่ยนผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน
ประหยัดเวลาในการบริหารและการดำเนินงาน
กำหนดจุดมุ่งหมายได้อย่าง
ชัดเจน
รใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ต่อเกษตรกรเป้าหมาย
การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ
สอดคล้องกับความต้องการ
ความหมาย
การวางแผนการสื่อสารให้สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ เป้าหมายและวิสัยทัศน์ขององค์กร โดยกำหนดกระบวนการ รายละเอียดวิธีการต่าง ๆ ในการดำเนินงานเกี่ยวกับการสื่อสารเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรอย่างเป็นระบบ เพื่อให้การสื่อสารเป็นส่วนหนึ่งของการสนับสนุนกลยุทธ์หลักขององค์กร อันจะทำให้งานดำเนินไปในทิศทางเดียวกันและองค์กรสามารถบริหารจัดการสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ได้อย่างเป็นระบบ
แผนการสื่อสาร
กลยุทธ์การสื่อสาร
กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม
กลยุทธ์การสื่อสารแบบมีส่วนร่วม
ใช้ชุมชนเป็นศูนย์กลาง
กลยุทธ์การมีส่วนร่วมของชุมชน
กลยุทธ์การดำเนินงานชุมชน
ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน
ระยะที่ 2 สร้างองค์กรนำ กลุ่มแกนกลาง และดำเนินการ
ระยะที่ 3 ผลักดันสู่องค์กรการเมืองท้องถิ่น
ระยะที่ 1 ควรจะเริ่มต้นจากกลุ่มผู้สนใจปัญหา
กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน
ลักษณะ
เริ่มจากตัวกลุ่มเป้าหมาย
เกิดพลังร่วมกัน
ใช้การสื่อสารทุกรูปแบบ
ให้ความสำคัญเรื่องการตอบกลับ
เกิดผลในด้านพฤติกรรม
สร้างความสำพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การกำหนดกลยุทธ์
การตัดสินใจเลือกการผสมผสานเครื่องมือ
ตัดสินใจด้านกลยุทธ์ของสาร
ตัดสินใจเลือกผสมผสานสื่อ
กลยุทธ์การสื่อสารการตลาด
มุ่งสื่อสารทุกจุดติดต่อ
มีหลายฝ่ายเกี่ยวข้อง
เพื่อเพิ่มการรับบริการ
สื่อสารได้หลายวิธี
จุดมุ่งหมายเพื่อจูงใจ
กลยุทธ์การรู้เท่าทันสื่อเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความจำเป็นในการรู้เท่าทันสื่อ
วิธีการรู้เท่าทันสื่อ
กลยุทธ์การพัฒนาตนเองเพื่อการรู้เท่าทันสื่อ
การประยุกต์แผนการสื่อสาร
การประยุกต์แผนการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ในการรณรงค์
กลยุทธ์การรณรงค์
ขั้นตอนการรณรงค์
องค์ประกอบที่นำไปสู่การรณรงค์ที่ประสบความสำเร็จ
ทำความเข้าใจลักษณะของการรณรงค์
การประยุกต์แผนการสื่อสารเชิงกลยุทธ์เพื่อการสร้างภาพลักษณ์
ลักษณะที่สำคัญของภาพลักษณ์
ความสำคัญของภาพลักษณ์
วิธีการสร้าง รักษา และแก้ไขภาพลักษณ์
ประเภทของภาพลักษณ์
แผนการสื่อสาร
ในแนวราบ
หน่วยงานภายนอก
สอดคล้องเชื่อมโยงกับหน่วยงานหรือองค์การภายนอก
ระหว่างหน่วยงานกับเกษตรกร
สอดคล้องเชื่อมโยงกับเกษตรกร/เครือข่ายเกษตรกร
ภายในหน่วยงาน
แผนการสื่อสารเชิงกลยุทธ์/แผนพัฒนาระบบงาน บุคลากร/แผนพัฒนาเทคโนโลยีการเกษตร/แผนส่งเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกร
ในแนวดิ่ง
ปัญหาของเกษตรกร
แผนและนโยบายภาครัฐ
แผนกลยุทธ์การสื่อสาร
เกษตรกรเป้าหมาย
การประเมินผลการสื่อสารเชิงกลยุทธ์เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การประเมินผลการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
ประเมินผลองค์กร
การปฏิบัติงาน
ภาพลักษณ์
ประเมินผลการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประเมินสื่อ
ประเมินผู้รับสาร
แนวคิด
ผลผลิต
ผลลัพธ์
ปัจจัยนำเข้า
แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินผล
ประเภท
จุดมุ่งหมาย
สิ่งที่ถูกประเมิน
ระยะเวลา
วัตถุประสงค์โครงการ
ความสำคัญ
ทราบผลสำเร็จและช่วยตัดสินใจ
วัตถุประสงค์ของการประเมินผล
ความหมาย
ประเมินผลดำเนินงานตามแผนสื่อสารจากความก้าวหน้าและคุณค่า
แนวคิดใหม่ใน
การประเมิน
การประเมินผลแบบมีส่วนร่วม
ประเมินผลในระบบเปิด
กระบวนการประเมิน
ออกแบบการประเมินผล
ดำเนินการประเมินผล
วิเคราะห์บริบทและการกำหนดขอบเขต
เขียนรายงานและใช้ประโยชน์
นางสาวนวลนภา วิลาดลัด 2649002371