Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ - Coggle Diagram
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
สาระสำคัญของทฤษฎี
ฟรอยด์กล่าวว่า พัฒนาการทางบุคลิกภาพเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะขั้นวัยทารกวัยเด็กและวันวัยรุ่นระบบทั้งสามจะทำงานประสานกันดีขึ้นเนื่องจากเด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมหรือโลกภายนอกมากขึ้น ยิ่งโตขึ้น Ego ก็จะยิ่งแข็งแกร่งขึ้น และสามารถที่จะควบคุม Id ได้มากขึ้น
จิตวิเคราะห์ได้รับการวิจารณ์จากแหล่งที่มากว้างขวาง นักวิจารณ์จิตวิเคราะห์สำคัญคนหนึ่งว่า จิตวิเคราะห์เป็นวิทยาศาสตร์เทียม กระนั้น จิตวิเคราะห์มีอิทธิพลแข็งแรงในสาขาจิตเวชศาสตร์ และในบางส่วนของสาขาอื่น
ฟรอยด์ได้แบ่งจิตของมนุษย์ออกเป็น 3 ระดับ คือ จิตสำนึก (Conscious) จิตก่อนสำนึก (Pre-conscious) และจิตไร้สำนึก (Unconscious)
-
-
แบ่งจิตออกเป็น 3 ระดับ
- จิตกึ่งสำนึก (Subconscious mind) หมายถึงภาวะจิตที่ระลึกถึงได้
- จิตไร้สำนึกหรือจิตใต้สำนึก (Unconscious mind) หมายถึงภาวะจิตที่ไม่อยู่ในภาวะที่รู้ตัวระลึกถึงไม่ได้
- จิตสำนึกหรือจิตรู้สำนึก (Conscious mind) หมายถึงภาวะจิตที่รู้ตัวอยู่ได้แก่ การแสดพฤติกรรม เพื่อให้ สอดคล้องกับหลักแห่งความเป็นจริง
โครงสร้างทางจิต
- อีโก้ (Ego) หมายถึง ส่วนที่ควบคุมพฤติกรรมที่เกิดจากความต้องการของ Id โดยอาศัยกฎเกณฑ์ ทางสังคม และหลักแห่งความจริง (Reality principle) มาช่วยในการตัดสินใจ
- ซุปเปอร์อีโก้ (Superego) หมายถึงมโนธรรมหรือจิตส่วนที่ได้รับการพัฒนาจากประสบการณ์การอบรมสั่งสอนโดยอาศัยหลักของศีลธรรมจรรยาขนบธรรมเนียมประเพณีและค่านิยมต่าง ๆ ใน สังคมนั้น
- อิด (Id) หมายถึงตัณหาหรือความต้องการพื้นฐานของ
มนุษย์เป็นสิ่งที่ยังไม่ได้ขัดเกลา
-