Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มลพิษขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย - Coggle Diagram
มลพิษขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
สถานการณ์ปัจจุบัน
ปัญหา
ปัญหาขยะมูลฝอยตกค้างสะสม
ปัญหาการจัดการขยะมูลฝอย
ปัญหาการจัดการของเสียอันตราย
ผลกระทบ
เป็นสะสมเชื้อโรค
น้ำชะขยะปนเปื้อนลงสู่สิ่งแวดล้อม เช่น ปนเปื้อนลงสู่แหล่งน้ำใต้ดินต้องใช้งบประมาณเยอะในการแก้ไข
เศรษฐกิจของประเทศหยุดชะงัก ภาพลักษณ์ทางการท่องเที่ยวเสียหาย
สาเหตุ
จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ปริมาณขยะเพิ่มขึ้นไปด้วย
การขยายตัวของเมือง พื้นที่ในการกำจัดขยะน้อยลง
การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ไปเป็นชุมชนเมืองในหลายพื้นที่ พื้นที่ในการกำจัดขยะน้อยลง
พฤติกรรมการบริโภค ชิ้นส่วนของขยะเพิ่มขึ้น
การท่องเที่ยว จำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นขยะก็เพิ่มขึ้น
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น
สถานพยาบาล
กรมควบคุมมลพิษ
โรงงานอุตสาหกรรม
stakeholder
Key stakeholder
กรมควบคุมมลพิษ เสนอแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย 2559-2564
Primary stakeholder
ประชาชนที่ได้รับความร้อนจากปัญหาขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
สถานพยาบาล
องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น
Secondary stakeholder
โรงงานอุตสาหกรรม
จริยธรรมสิ่งแวดล้อม
หน่วยงานทั้งหมดที่เกี่ยวข้องและstakeholder ต่างๆ มีแนวคิดจริยธรรมสิ่งแวดล้อมแบบ Biocentric คือ การให้ความเคารพและให้เกียรติสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่จะอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี รวมถึงต้องคำนึงถึงผลกระทบของมลพิษที่มาจากขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายที่จะมีผลต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ตามแนวคิด Ecocentric
กฏหมายที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายในประเทศ
พ.ร.บ สาธารณสุข พ.ศ 2535
พ.ร.บ โรงงาน พ.ศ 2535
พ.ร.บ รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย พ.ศ 2535
ร่างพ.ร.บ การจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
พ.ร.บ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ 2535
กฎหมายระหว้างประเทศ
อนุสัญญามินามาตะ
นโยบายระดับประเทศที่เกี่ยวข้อง
. ขยะมูลฝอยชุมชนได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง
ขยะมูลฝอยตกค้างได้รับการจัดการถูกต้อง
ของเสียอันตรายชุมชนได้รับการรวบรวมและส่งกำจัด
มูลฝอยติดเชื้อได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง
กากอุตสาหกรรมที่เป็นอันตรายเข้าสู่ระบบการจัดการ
องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นมีการคัดแยกขยะมูลฝอยชุมชนและของเสียอันตรายชุมชนที่ต้นทาง
ข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา
กำหนดกฎระเบียบ/ข้อกำหนดด้านการลดปริมาณขยะโดยกำรออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม (Eco Design)
ลดปริมาณขยะมูลฝอยโดยการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบเบ็ดเสร็จยั่งยืน เช่น การนำมาใช้ประโยชน์ในรูปวัตถุดิบใหม่การผลิตพลังงาน การทำปุ๋ยหมัก
ลดการผลิตและบริโภคสินค้าที่ผลิตจากวัสดุที่ย่อยสลายยากและผลิตภัณฑ์ที่เป็น Single Use(แบบใช้แล้วทิ้ง)
กำหนดให้มีระบบการอนุญาต (Permit System) สถานที่กำจัดขยะ ของเสียอันตราย และมูลฝอยติดเชื้อ ทั้งที่ดำเนินการโดยเอกชนและหน่วยงานภาครัฐ
หยุดดำเนินการสถานที่กำจัดขยะที่ไม่ถูกต้อง โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องไม่มีการเทกองกลางแจ้งภายใน ๕ ปี(No Open Dump)
ให้มีการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบรรจุภัณฑ์ ค่าธรรมเนียมผลิตภัณฑ์ที่กำจัดยาก
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
ข่าวที่1: GPSC เปลี่ยนขยะให้เป็นประโยชน์ โรงไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงขยะ จ.ระยอง GPSC จับมือกับภาครัฐและท้องถิ่นในการจัดการปัญหาขยะภายในชุมชน โดยนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาเปลี่ยนขยะไร้ค่าตามบ้านเรือนไปใช้ประโยชน์ในการเป็นเชื้อเพลิงให้กับโรงไฟฟ้า เป็นการลดจำนวนขยะในการนำไปฝังกลบให้น้อยลง เน้นการใช้ประโยชน์ ตามแผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
ข่าวที่ 2: โตโยต้า จับมือ AIS กำจัดขยะพิษ E-Waste กำจัดขยะอิเล็กทรอนิกส์แบบครบวงจร ด้วยเทคโนโลยีระดับสูงจากญี่ปุ่น พร้อมจัดการแบตเตอรี่ทุกแบบทั้งแบตเตอรี่ไฮบริดของรถยนต์และแบตเตอรี่มือถือ เป็นการกำจัดของเสียอันตรายโดยให้ผู้ผลิตเป็นคนกำจัดเพื่อป้องกันไม่ให้สารเคมีอันตรายปนเปื้อนลงในสิ่งแวดล้อม