Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 1 ศาสนากับการดำเนินชีวิต - Coggle Diagram
หน่วยที่ 1 ศาสนากับการดำเนินชีวิต
บทที่ 1 พระพุทธศาสนา
1.ความสำคัญของพระพุทธศาสนา
1.พระพุทธศาสนาเป็นเอกลักษณ์ของชาติ
2.พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานและมรดกทางวัฒนธรรมไทย
1.สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม
2.ประเพณี
3.ภาษาและวรรณคดี
3.พระพุทธศาสนาเป็นศูนย์รวมจิตใจ
4.พระพุทธศาสนาเป็นหลักในการพัฒนาชาติไทย
2.พุทธประวัติ
1.ทรงปลงพระชนมายุสังขาร
2.ปัจฉิมสาวก
3.ปรินิพพาน
4.การถวายพระเพลิง
5.การแจกพระบรมสารีริกธาตุ
6.สังเวชนียสถาน
สถานที่ประสูติ ลุมพินีวัน
สถานที่ตรัสรู้ อุรุเวลาเสนานิคม กรุงราชคฤห์
สถานที่แสดงปฐมเทศนา อิสิปตนมฤคทายวัน กรุงพาราณสี
สถานที่ปรินิพพาน สาลวโนทยาน กรุงกุสินารา
บทที่ 2 หลักธรรมนำความสุข
1.หลักคำสอนสำคัญของพระพุทธศาสนา
1.พระรัตนตรัย
ศรัทธา 4
เชื่อว่ากรรมมีอยู่จริง
เชื่อว่าผลกรรมมีจริง
เชื่อว่าสัตว์มีกรรมเป็นของตน
เชื่อพระปัญญาและการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
1.พระพุทธ
บำเพ็ญพุทธกิจ 5 เวลา
1.ช่วงเช้า
2.ช่วงเย็น
3.ช่วงค่ำ
4.ช่วงเที่ยงคืน
5.ช่วงใกล้รุ่ง
2.พระธรรม
อริยสัจ 4
ทุกข์
สมุทัย
นิโรธ
มรรค
หลักกรรม
1.เพื่อทำลายความเชื่อเรื่องวรรณะ
2.เพื่อให้มนุษย์มีความเพียรในการปรับปรุงตนเอง
3.เพื่อให้เป็นผู้ไม่ประมาท
4.เพื่อให้เป็นคนเชื่อมั่นในเหตุและผล
3.พระสงฆ์
1.เป็นผู้ประพฤติดีปฏิบัติชอบตามพระธรรมวินัย
2.เป็นตัวอย่างที่ดีในทางศีลธรรม
3.เรียนรู้พระธรรม แล้วนำมาสอนให้บุคคลทั่วไป
4.เป็นผู้ที่ทำหน้าที่สืบต่ออายุพระพุทธศาสนา
2.ไตรสิกขา
ศีล
สมาธิ
ปัญญา
3.โอวาท 3
1.การไม่ทำความชั่ว
เบญจศีล
อบายมุข 6
อกุศลมุล 3
2.การทำความดี
เบญจธรรม
1.ความเมตตากรุณา
2.สัมมาอาชีวะ
3.ความสำรวมในกาม
4.สัจจะ
5.การมีสติสัมปชัญญะ
กุศลมูล 3
อโลภะ
อโทสะ
อโมหะ
พละ 4
1.ปัญญาพละ
2.วิริยพละ
3.อนวัชชพละ
4.สังคหพละ
คารวะ 6
1.ในพระพุทธเจ้า
2.ในพระธรรม
3.ในพระสงฆ์
4.ในการศึกษา
5.ในความไม่ประมาท
6.ในการต้อนรับปฏิสันถาร
กตัญญูกตเวทีต่อพระมหากษัตริย์
มงคล 38
1.มีวินัย
2.การงานไม่มีโทษ
3.ไม่ประมาทในธรรม
3.การทำจิตให้ผ่องใสบริสุทธิ์
4.การปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา เพื่อแก้ปัญหาอบายมุขและสิ่งเสพติด
5.พุทธศาสนสุภาษิต
1.คนจะได้เกียรติด้วยสัจจะ
2.พูดเช่นไร ทำเช่นนั้น
2.หลักคำสอนสำคัญของศาสนาคริสต์
1.หลักความรัก
1.ระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า
2.ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์
2.หลักตรีเอกานุภาพ
1.พระบิดา
2.พระบุตร
3.พระจิต
3.บัญญัติ 10 ประการ
3.หลักคำสอนสำคัญของศาสนาอิสลาม
1.หลักศรัทธา 6 ประการ
1.ต่ออัลลอฮ์ 2.ต่อเทวทูตของอัลลอฮ์ 3.ต่อพระคัมภีร์ทั้งหลาย 4.ต่อศาสนพูต 5.ในวันพิพากษาโลก 6.ในลิขิตของอัลลอฮ์
2.หลักปฏิบัติ 5 ประการ
1.การปฏิญาณตน 2.การละหมาด 3.การบริจาคซะกาต 4.การถือศีลอด 5.การประกอบพิธีฮัจญ์
4.หลักคำสอนสำคัญของศาสนาฮินดู
1.หลักธรรม 10 ประการ
1.ธฤติ 2.กษมา 3.ทมะ 4.อัสเตยะ 5.เศาจะ 6.อินทรียนิครหะ 7.ธี 8.วิทยา 9.สัตยา 10.อโกธะ
2.หลักอาศรม 4
1.พรหมจารี 2.คฤหัสถ์ 3.สันนยาสี 4.วานปรัสถ์
บทที่ 3 เรียนรู้สิ่งที่ดี
1.แบบอย่างการทำความดี
พระราธะ
2.ทีฆีติโกสลชาดก (ผู้ไม่ทำลายโอวาท)
3.สัพพทาฐิชาดก (ความโลภทำให้เสื่อมลาภ)
4.พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
5.สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
6.ตัวอย่างการกระทำความดีของบุคคลในประเทศ
พระราชวิสุทธิประชานารถ
2.การพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนา
1.การสวดมนต์ไหว้พระสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
2.การแผ่เมตตา
3.ความหมายของสติ สัมปชัญญะ สมาธิ และปัญญา
4.วิธีบริหารจิตและเจริญปัญญา
1.ตัดความกังวลต่างๆ ออกไป
2.เลือกสถานที่ที่สงบ
3.ต้องไม่หิวหรืออิ่มเกินไป
4.อาบน้ำชำระร่างกายให้สะอาด
5.ประโยชน์ของการบริหารจิตและเจริญปัญญา
1.ทำให้จิตใจสบาย ไม่เครียดหรือวิตกกังวล
2.นอนหลับง่าย
3.มีความกระฉับกระเฉง คล่องแคล่ว
4.มีประสิทธิภาพในการเรียน การทำงาน
6.วิธีฝึกการยืน การเดิน การนั่ง และการนอนอย่างมีสติ
1.ยืนอย่างมีสติ
2.เดินอย่างมีสติ
3.นั่งอย่างมีสติ
4.นอนอย่างมีสติ
7.วิธีฝึกกำหนดรู้ความรู้สึก
อายตนะทั้ง 6 ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กายและใจ
8.วิธีฝึกให้มีสมาธิในการฟัง อ่าน คิด ถาม และเขียน
1.ในการฟัง
2.ในการอ่าน
3.ในการคิด
4.ในการถาม
5.ในการเขียน
4.ศาสนิกชนที่ดีและศาสนพิธีน่ารู้
1.ศาสนสถานและการปฏิบัติตนที่เหมาะสมเมื่ออยู่ในศาสนสถาน
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆ ภายในวัด
1.เขตพุทธาวาส
2.เขตสังฆาวาส
2.การปฏิบัติตนที่เหมาะสมภายในวัด
1.การแต่งกาย
2.การสำรวมใจ
3.การสำรวมกายและวาจา
2.มรรยาทของศาสนิกชน
1.การถวายของแก่พระภิกษุ
2.การปฏิบัติตนในขณะฟังธรรม
3.การปฏิบัติตนตามแนวทางของพุทธศาสนิกชนเพื่อประโยชน์ต่อศาสนา
1.การศึกษาหาความรู้
2.การปฏิบัติตามหลักธรรม
3.การเผยแผ่ศาสนา
4.การปกป้องศาสนา
3.พิธีกรรมสำคัญของพระพุทธศาสนา
1.การอารธนาศีล อาราธนาธรรม และอาราธนาพระปริตร
2.การบวช
1.การบรรพชา
2.การอุปสมบท
3.พิธีทอดผ้าป่า
4.พิธีทอดกฐิน
มี 2 ชนิด จุลกฐิน และ มหากฐิน
ขั้นตอน
1.จองกฐิน
2.เตรียมเครื่องกฐิน
3.จัดตั้งองค์กฐิน
4.ถวายกฐิน
5.การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
6.ระเบียบพิธีในการทำบุญงานอวมงคล
1.การจัดสถานที่
2.การใช้สายสิญจน์
3.การอาราธนาในการสวดมนต์
7.วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันมาฆบูชา ขึ้น15ค่ำเดือน3
ทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์
วันวิสาขบูชา ขึ้น15ค่ำเดือน6
ตรงกับวันประสูติ ตรัสรู้และปรินิพพาน
วันอัฐมีบูชา แรม8ค่ำเดือน6
ถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ
วันอาสาฬหบูชา ขึ้น15ค่ำเดือน8
ทรงแสดงปฐมเทศนา
วันเข้าพรรษา แรม1ค่ำเดือน8
พระสงฆ์เริ่มจำพรรษา 3 เดือน
วันออกพรรษา ขึ้น15ค่ำเดือน11
สิ้นสุดการจำพรรษาของพระสงฆ์
วันธรรมสวนะ ขึ้นหรือแรม8ค่ำและ15ค่ำของทุกเดือน
8.ประโยชน์ของการเข้าร่วมในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
ช่วยขัดเกลากิเลสในจิตใจให้เบาบาง
เกิดความสมัครสมานสามัคคี
เป็นแบบอย่างที่ดีของพุทธศาสนิกชน
ช่วยทำนุบำรุงให้มีความเจริญรุ่งเรือง
ก่อให้เกิดความสงบสุขในการดำเนินชีวิต
4.พิธีกรรมสำคัญของศาสนาคริสต์
1.พิธีศีลล้างบาปหรือศีลจุ่ม
2.พิธีศีลกำลัง
3.พิธีศีลแก้บาป
4.พิธีศีลมหาสนิท
5.พิธีศีลเจิมคนไข้
6.พิธีศีลอนุกรมหรือศีลบวช
7.พิธีศีลสมรส
5.พิธีกรรมสำคัญของศาสนาอิสลาม
1.การละหมาด
2.พิธีถือศีลอด
3.พิธีฮัจญ์
6.พิธีกรรมสำคัญของศาสนาฮินดู
1.กฏสำหรับวรรณะ
2.พิธีประจำบ้านหรือพิธีสัมสการ
3.พิธีศราทธ์
4.พิธีบูชาเทวดา