Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4 เรียนรู้ภูมิศาสตร์ - Coggle Diagram
หน่วยที่ 4 เรียนรู้ภูมิศาสตร์
บทที่ 1 เรียนรู้ลักษณะทางกายภาพของภูมิภาคด้วยแผนที่และรูปถ่าย
1.การใช้แผนที่และรูปถ่ายในการศึกษาลักษณะทางกายภาพ
1.แผนที่
2.รูปถ่าย
3.การสืบค้นและอธิบายข้อมูลด้วยแผนที่และรูปถ่าย
น่าเชื่อถือ
ทันสมัย
ผสมผสาน
ดูง่าย ชัดเจน
2.ลักษณะทางกายภาพของภูมิภาคต่างๆ
1.ภาคเหนือ
อาณาเขตติดต่อ
ลักษณะภูมิประเทศ
ทิวเขา
แอ่งที่ราบ
ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อแหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญ
ทรัพยากรธรรมชาติ
แหล่งน้ำ
ป่าไม้และสัตว์ป่า
ป่าไม้ไม่ผลัดใบ
ป่าไม้ผลัดใบ
แร่
สถานที่สำคัญ
ดอยหลวงเชียงดาว
ดอยตุง
พุน้ำร้อนแจ้ซ้อน
ถ้ำขุนน้ำนางนอน
2.ภาคกลาง
อาณาเขตติดต่อ
ลักษณะภูมิประเทศ
ที่ราบลุ่มแม่น้ำ
ภาคกลางตอนบน
ภาคกลางตอนล่าง
ขอบของที่ราบ
ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อแหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญ
ทรัพยากรธรรมชาติ
แหล่งน้ำ
ป่าไม้และสัตว์ป่า
แร่
สถานที่สำคัญ
ดอนหอยหลอด
น้ำตกเจ็ดสาวน้อย
เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
3.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
อาณาเขตติดต่อ
ลักษณะภูมิประเทศ
ทิวเขา
แอ่งที่ราบ
ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อแหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ดิน
แหล่งน้ำ
ป่าไม้และสัตว์ป่า
แร่
สถานที่สำคัญ
สามพันโบก
น้ำตกเหวนรก
ทุ่งดอกกระเจียว
4.ภาคตะวันออก
อาณาเขตติดต่อ
ลักษณะภูมิประเทศ
ทิวเขา
ที่ราบลุ่มแม่น้ำ
ชายฝั่งทะเล
ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อแหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ดิน
แหล่งน้ำ
ป่าไม้และสัตว์ป่า
แร่
สถานที่สำคัญ
เกาะช้าง
ป่าชายเลน
ท่าเรือแหลมฉบัง
5.ภาคตะวันตก
อาณาเขตติดต่อ
ลักษณะภูมิประเทศ
ทิวเขา
ที่ราบลุ่มแม่น้ำ
ชายฝั่งทะเล
ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อแหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ดิน
แหล่งน้ำ
ป่าไม้และสัตว์ป่า
แร่
สถานที่สำคัญ
น้ำตกเอราวัณ
เขื่อนศรีนครินทร์
อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด
6.ภาคใต้
อาณาเขตติดต่อ
ลักษณะภูมิประเทศ
ทิวเขา
ที่ราบชายฝั่ง
ชายฝั่งทะเล
ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อแหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ดิน
แหล่งน้ำ
ป่าไม้และสัตว์ป่า
แร่
สถานที่สำคัญ
ทะเลสาบสงขลา
หมู่เกาะสิมิลัน
สระมรกต
บทที่ 2 สิ่งแวดล้อมกับลักษณะการดำเนินชีวิตในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศไทย
1.สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับการตั้งถิ่นฐานและการย้ายถิ่น
1.การตั้งถิ่นฐานของประชากร
ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งถิ่นฐาน
1.ปัจจัยทางธรรมชาติ
ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิอากาศ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ภัยธรรมชาติ
2.ปัจจัยทางสังคม
สภาพสังคมและวัฒนธรรม
การคมนาคมขนส่ง
การประกอบอาชีพ
ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน
1.ภาคเหนือ
2.ภาคกลาง
3.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
4.ภาคตะวันออก
5.ภาคตะวันตก
6.ภาคใต้
2.การย้ายถิ่นของประชากร
1.การย้ายถิ่นเข้า
2.การย้ายถิ่นออก
2.สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับวิถีการดำเนินชีวิต
1.ภาคเหนือ
ลักษณะที่อยู่อาศัย
การประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม
พาณิชยกรรม
อุตสาหกรรม
เหมืองแร่
วัฒนธรรมประเพณี
2.ภาคกลาง
ลักษณะที่อยู่อาศัย
การประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม
พาณิชยกรรม
อุตสาหกรรม
การท่องเที่ยว
วัฒนธรรมประเพณี
3.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ลักษณะที่อยู่อาศัย
การประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม
พาณิชยกรรม
อุตสาหกรรม
เหมืองแร่
การท่องเที่ยว
วัฒนธรรมประเพณี
4.ภาคตะวันออก
ลักษณะที่อยู่อาศัย
การประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม
พาณิชยกรรม
อุตสาหกรรม
การท่องเที่ยว
วัฒนธรรมประเพณี
5.ภาคตะวันตก
ลักษณะที่อยู่อาศัย
การประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม
พาณิชยกรรม
อุตสาหกรรม
เหมืองแร่
การท่องเที่ยว
วัฒนธรรมประเพณี
6.ภาคใต้
ลักษณะที่อยู่อาศัย
การประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม
พาณิชยกรรม
อุตสาหกรรม
เหมืองแร่
การท่องเที่ยว
วัฒนธรรมประเพณี
3.การจัดการสิ่งแวดล้อมในภูมิภาค
1.การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
2.การทำลายสิ่งแวดล้อม
1.ปัญหามลพิษทางน้ำ
2.ปัญหามลพิษทางอากาศ
3.ปัญหาป่าไม้ถูกทำลาย
4.ปัญหาดินเสื่อมคุณภาพ
5.ปัญหาทรัพยากรชายฝั่งทะเลลดลง
3.แนวทางในการจัดการสิ่งแวดล้อมในภูมิภาค
1.การใช้อย่างประหยัด
2.การนำกลับมาใช้ใหม่
3.การซ่อมแซม
4.การหลีกเลี่ยง
5.การบำบัดและการฟื้นฟู
6.การใช้สิ่งอื่นทดแทน
7.การดูแลและป้องกัน
8.การรีไซเคิล