Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มลพิษขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย - Coggle Diagram
มลพิษขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
จริยธรรมสิ่งแวดล้อม
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับปัญหามลพิษจากขยะและของเสียอันตราย
มีจริยธรรมสิ่งวดล้อม แบบ Eco centric
ประชาชน
มีจริยธรรมสิ่งวดล้อม แบบ Homocentric Ethic
สถานการณ์ปัจจุบัน
ผลกระทบ
เป็นบ่อเกิดของโรค
ก่อให้เกิดความรำคาญ จะเกิดเป็นกลิ่นรบกวน
เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลง และพาหะของโรค
ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ขยะเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดมลพิษของน้ำ มลพิษของดิน และมลพิษของอากาศ
ปัญหา
ปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยปลายทาง
ปัญหาการจัดการของเสียอันตรายชุมชน
ปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยกลางทาง
ปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยต้นทาง
สาเหตุ
การผลิตหรือใช้สิ่งของมากเกินความจำเป็น
การเก็บและทำลายหรือนำขยะไปใช้ประโยชน์ไม่มีประสิทธิภาพ
ความมักง่าย และขาดความสำนึกถึงผลเสียที่จะเกิดขึ้น
Stakeholder ที่เกี่ยวข้อง
Key stakeholder
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในเรื่องการจัดการมลพิษจากขยะและของเสียอันตราย
Primary stakeholder
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.)
ประชาชนที่ได้รับผลกระทบ
Secondary stakeholder
โรงงานที่ต้องปฏิบัติตามคำสั่งของกรมโรงงาน
ห้างสรรพสินค้า ที่ต้องมีนโยบายจัดการมูลฝอย
ยกตัวอย่างคดี/ข่าวที่เกี่ยวข้อง 2 ตัวอย่าง
คนกรุงทิ้งขยะอันตราย 2.7 ตัน/วัน
หลอดไฟ, ถ่านไฟฉาย,
ขยะอิเล็กทรอนิกส์
เนื้อหาข่าว “กรุงเทพมหานครให้บริการเก็บขนและกำจัดขยะอันตรายจากชุมชนโดยแยกจากการจัดเก็บขยะทั่วไป ซึ่งขยะอันตรายที่กรุงเทพมหานครจัดเก็บได้ส่วนใหญ่เป็นขยะที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ กระป๋องสเปรย์ ยาฆ่าแมลง เครื่องสำอางหมดอายุ ยารักษาโรคที่หมดอายุ เป็นต้น” ซึ่งขยะที่มีการทิ้งต่างๆนั้นเป็นขยะอันตราย ควรมีการแยกขยะออกก่อนทิ้งเพื่อสุขภาพอนามัยของประชาชน
ผ่านไปเห็นแล้วอึ้ง กองภูเขาขยะหลายสิบตัน ล้นทะลักดอยม่อนแจ่ม แมลงวันตอม-ส่งกลิ่นทั้งดอย ทต.แม่แรม
เนื้อหาข่าว “กองขยะมหึมาถูกทิ้งไว้บนพื้นที่ราว 2 ไร่ ระหว่างเส้นทางดอยม่อนแจ่ม - จุดชมวิวม่อนล่อง แหล่งท่องเที่ยวชื่อดัง มีทั้งเศษอาหารและผลผลิตทางการเกษตรที่ถูกทิ้งหมักหมม ทำให้ส่งกลิ่นเน่าเหม็นไปทั่วทั้งดอย และยังมีแมลงวันรุมตอมจำนวนมากด้วย” ซึ่งขยะดังกล่าวนั้นเป็นขยะมูลฝอยที่เกิดจากการไม่มีความรับผิดชอบของผู้ประกอบการที่เข้าไปสร้างที่พักและไม่จัดให้มีที่ทิ้งขยะให้ชัดเจนนั้นเอง
นโยบาย/แผนระดับประเทศที่เกี่ยวข้อง
แผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559 - 2564)
ของเสียอันตรายชุมชนได้รับการรวบรวมและส่งไปกำจัดถูกต้องตามหลักวิชาการ
มูลฝอยติดเชื้อได้รับการจัดการอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ
ขยะมูลฝอยตกค้างได้รับการจัดการอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ
กากอุตสาหกรรมที่เป็นอันตรายเข้าสู่ระบบการจัดการที่ถูกต้อง
ขยะมูลฝอยชุมชนได้รับการจัดการอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการคัดแยกขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายชุมชนที่ต้นทาง
นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 – 2564)
ในกลยุทธ์มีการเพิ่มประสิทธิภาพกลไกตรวจสอบและเฝ้าระวังภัยคุกคามทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากภายนอกประเทศ โดยเฉพาะปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ การลักลอบนำเข้าวัตถุมีพิษ สารเคมีอันตราย และกากของเสียต่างๆ จากโรงงานอุตสาหกรรมของต่างชาติที่เข้ามาทิ้งในอาณาเขตของประเทศไทย และปล่อยของเสียกระทบสิ่งแวดล้อม
เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา
กรณีหากภาครัฐมีความจำเป็นต้องสร้างเตาเผาขยะ ควรหาความร่วมมือกับภาคเอกชนที่มีความชำนาญในการดำเนินงาน
ลดปริมาณขยะมูลฝอยโดยการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบเบ็ดเสร็จยั่งยืน
ภาครัฐควรให้ความสำคัญกับการกำจัดขยะมูลฝอยด้วยวิธีการนำกลับมาใช้ซ้ำ(Reuse) หมุนเวียนนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) ตลอดจนการแปรรูปขยะเป็นพลังงาน (Recovery)
ลดการผลิตและบริโภคสินค้าที่ผลิตจากวัสดุที่ย่อยสลายยากและผลิตภัณฑ์ที่เป็น Single Use
ควรให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยอย่างจริงจังด้วยวิธีการต่าง ๆ
ควรนำมาตรการกำจัดกำรขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายตามแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559 - 2564) มาขับเคลื่อนการดำเนินงานของแผนงาน บูรณาการด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยให้เกิดเป็นรูปธรรมและมีความชัดเจน
ยกเลิกการใช้สารเคมีเพื่อการเกษตร
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายในประเทศ
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
กฎหมายระหว่างประเทศ
อนุสัญญามินามาตะ ว่าด้วยปรอท ค.ศ. ๒๐๑๓
อนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ
อนุสัญญาบาเซล ว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามแดนของของเสียอันตรายและการกำจัด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
กำกับ ดูแล ควบคุม โรงงานในเรื่องของการปล่อยของเสียอันตรายต่างๆ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.)
จัดการมลพิษจากขยะและของเสียอันตรายและให้ความรู้กับประชาชนในส่วนที่ตนปกครองเกี่ยวกับขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
กรมควบคุมมลพิษ
เสนอความเห็นเพื่อจัดทำนโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ด้านการจัดการมลพิษ