Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการอ่านและ พิจารณาบทร้อยกรอง, หลักการอ่านและพิจารณาบทร้อยกรอง,…
หลักการอ่านและ
พิจารณาบทร้อยกรอง
สุนทรียะของคำประพันธ์ไทย
สุนทรียะรสมี ๔ รส
นารีปราโมทย์
บทเกี้ยว กล่าวข้อความแสดงความรัก
พิโรธวาทัง
บทโกรธ กล่าวคำแสดงอารมณ์ความไม่พอใจ
เสาวรจนี
บทชมโฉม ชมความงามของตัวละครในเรื่อง
สัลลาปังคพิสัย
บทโศก กล่าวข้อความแสดงความโศกเศร้า
ความหมาย
การกล่าวคำเพื่อแสดงความนิยมในความงาม ความสุข ความเบิกบาน พอใจ
โวหารภาพพจน์ของคำประพันธ์ไทย
ความหมาย
การใช้ถ้อยคำเพื่อให้ได้ความหมายโดยการตีความ
ปฎิภาคพจน์ / ปฎิทรรศน์
ใช้ถ้อยคำมีความหมายตรงข้าม / ขัดแย้งกัน
ความมืดที่เว้งว้างสว่างไสว
สัทพจน์
เลียนเสียงธรรมชาติ
น้ำพุพุ่งซ่า ไหลมาฉาดฉาน
นามนัย
ใช้คำบอกลักษณธที่เป็นจุดเด่น
เวที หมายถึง การแสดงละคร
สัญลักษณ์
ใช้คำเปรียบเทียบแทนสิ่งหนึ่ง
ราชสีห์ หมายถึง ผู้มีอำนาจ, สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์
อติพจน์ / อธิพจน์
การกล่าวเกินจริง เพื่อให้เกิดความรู้สึกได้ง่าย
ร้องไห้จนน้ำตาไหลเป็นสายเลือด
บุคลาธิษฐาน
สมมุติให้สิ่งไม่มีชีวิตแสดงพฤติกรรมเหมือนมนุษย์
เคล้าคอหยอกดอกหญ้าอย่างอาลัย
อุปลักษณ์
เปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง
ว่า เป็น เท่า คือ
อวพจน์
กล่าวน้อยเกินจริงหรือใช้โวหารต่ำเกินจริง
ใจเท่ามด, เรื่องขึ้ผง
อุปมา
เปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนอีกสิ่งหนึ่ง
เหมือน ดุจ ดั่ง ราว เฉก ปาน เพียง
ปฎิปุจฉา
เป็นคำที่ใช้เป็นคำถามที่ไม่ต้องการคำตอบ
กระนี้หรือชื่อเสียงเกียรติยศ
หลักการอ่านและพิจารณาบทร้อยกรอง
ตัวอย่างคำ / ตัวอย่างโวหาร
ปองคุณ เถรว่อง ๕๒๓ ๓๒