Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทของสตรีไทยในประวัติศาสตร์ไทย, ท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์,…
บทบาทของสตรีไทยในประวัติศาสตร์ไทย
นับตั้งเเต่มีการบันทึกหลักฐานจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์
บทบาททางการเมือง
ด้านการปกครอง
พระนางจามเทวี
พระราชธิดาของกษัตริย์ทวารวดีแห่งเมืองละโว้
ขยายอำนาจออกไปตั้งเมืองคู่แฝด คือเมืองเขลางค์นคร
พระนางมหาเทวีสุโขทัย
ปกครองกรุงสุโขทัยระหว่างพระมหาธรรมราชาที่ 1 ไปครองเมืองสรลวงสองเเคว
เป็นพระเทวีของขุนหลวงพะงั่ว
พระมหาเทวีล้านนา
มหาเทวีโลกจุลกะเทวี
ผลักดันให้โอรสปกครองเมืองเชียงใหม่ ในขณะที่มีอายุเพียง13 พรรษา
พระมหาเทวีชนนีของพระเจ้าติโลกราช
คุมกองทัพรบเมืองเเพร่ ช่วยโอรสขยายอำนาจของล้านนา
พระมหาเทวีจัรประภา
พระมเหสีของเมืองเกศเกล้า
ได้รับอันเชิญไปครองเมืองเชียงใหม่
พระมหาเทวีวิวุทธิเทวี
ปกครองเมืองเชียงใหม่ช่วงที่ตกเป็นประเทศราชของพม่า
แม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์
กรมหลวงโยธาเทพ (เจ้าฟ้าศรีสุพรรณ)
ด้านการรบและทำสงคราม
สตรีสูงศักดิ์แห่งล้านนา
รบเพื่อปกป้องบ้านเมืองและขยายอำนาจ
นำไพร่พลต่อสู้กับข้าศึกทั้งๆที่ตั้งครรภ์อยู่
สมเด็จพระสุริโยทัย
ช่วยพระสวามีจากศึกพม่า
เจ้าศรีอโนชา
รวบรวมบริวารปกป้องครอบครัวและช่วยเหลือพระสุริยอภัย
ป้องกันเหตุวุ่นวายในกรุงธนบุรี
รวมมือแต่งทัพเรือเข้าช่วยปราบกบฏ
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
คุณหญิงจัน(ท้าวเทพกระษัตรี)และคุณมุก(ท้าวศรีสุนทร)
นำประชาชนต่อต้านพม่าที่มาตีเมืองถลางในคราวสงครามเก้าทัพจนได้ชัยชนะ
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
คุณหญิงโม(ท้าวสุนารี)
วางแผนและต่อสู้กับกองทัพเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์
ด้านการสร้างสัมพันธไมตรีทางเครือญาติ
การเสริมสร้างสัมพันธไมตรี
สร้างความเป็นเครือญาติทั้งในและนอกราชอาณาจักร
เช่น การสมรสในช่วงก่อต้องรัฐไทยยุคเเรก ระหว่างล้านนากับล้านช้าง
การแสวงหาพันธมิตร
เมื่อตกอยู่ใต้อำนาจอาณาจักรอื่น
จะเป็นการถวายพระราชธิดาเพื่อแสดงถึงความจงรักภักดี
เมื่อมีการเปลี่ยนผู้นำ
จะมีการแต่งงานระหว่างผู้นำใหม่และสตรีในราชวงศ์เก่าเพื่อให้เกิดการยอมรับในอำนาจ
บทบาททางสังคม
ด้านการศึกษา
เจ้าฟ้าพินทวดี
จัดทำตำราโบราณราชประเพณี
พระองค์เจ้าบุตรี
เป็นอาจารย์สอนวิชาความรู้ในร.5
ด้านวรรณกรรม
เจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ
ทรงนิพนธ์บทละครเรื่องดาหลัง(อิเหนาใหญ่)
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุกรมหลวงนรินทรเทวี
ทรงนิพนธ์จดหมายเหตุความทรงจำบันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามณฑา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุบล
นิพนธ์กุมารคำฉันท์
คุณพุ่ม และคุณสุวรรณ
ได้รับการยกย่องว่าเป็นกวีหญิง
ด้านศาสนา
สมัยรัชการที่ 5 ถึงสงครามโลกครั้งที่ 2
กลุ่มพระมเหสีเทวีของรัชกาลที่ 5
สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ
ด้านการปกครอง
ได้รับการสถาปนาเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน
มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติสำคัญหลายฉบับ
ด้านการศึกษา
ทรงบริจาคทรัพย์ส่วนพระองค์จัดสร้างโรงเรียนสตรีขึ้นหลายแห่ง
ด้านสาธารณสุขและการแพทย์
สนับสนุนให้สตรีคลอดแบบตะวันตก
ก่อตั้งโรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์
โปรดให้จัดสร้างโรงพยาบาลปัญจมาราชอุทิศ
ริเริ่มจัดตั้งสภากาชาดไทย
สมเด็จพระนางเจ้าสว่างพัฒนา พระบรมราชเทวี
จัดตั้งโรงพยาบาลสมเด็จ
สอนหนังสือและอาชีพแก่ชาวบ้าน
สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุกุลมารมารศรี พระอัครราชเทวี
ดำรงตำรงตำแหน่งราชเลขานุการฝ่ายใน
นิพนธ์ สุขุมาลนิพนธ์
สร้างอาคารเรียนให้แก่วัดพิชยญาติการามวรวิหาร
พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้่าสายสวลีภิรมย์
สำนักของพระองค์เป็นแหล่งวิชาเเม่เรือนที่สำคัญสำหรับกุลตรี
จัดพิมพ์หนังสือที่มีคุณค่าพระราชทานในวาระต่างๆ
จัดสร้างโรงเลี้ยงเด็กกำพร้าและสงเคราะห์ผู้ยากจน
พระราชชายาเจ้าดารารัศมี
นำวัฒนธรรมสยามมาประยุกต์ใช้ในล้านนา
เป็นผู้เชื่อสัมพันธ์ไมตรีระหว่างสยามและล้านนา
สนับสนุนการจัดตั้งโรงเรียนต่างๆในเชียงใหม่
เจ้าจอมมารดาแพ
ปรับปรุงภาพลักษณ์
แก้ไข้ขนบธรรมเนียนต่างๆให้มีความทันสมัย
จัดตั้งสุขศาลาให้ประชาชนทั่วไป
กลุ่มสตรีที่ได้รับการศึกษาแผนใหม่
ด้านการเเพทย์และสังคมสงเคราะห์
หม่อมเจ้าหญิงมัณฑารพ กมลาศน์
ปรับมาตรฐานการศึกษาให้มีความทันสมัย
จัดระเบียบแบบแผนการรักษาพยาบาล
แพทย์หญิง ดร.คุณเพียร เวชบุล
การบำบัดรักษาและป้องกันกามโรคแก่บุรษและหญิงขายบริการ
ก่อตั้งสถานรับเลี้ยงเด็กกำพร้านอกสมรส ชื่อว่า มาตาภาวาสถาน
ก่อตั้งบ้านเกร็ดตระการของกรมประชาสงเคราะห์ ช่วยเหลือหญิงขายบริการและเด็กเร่ร่อน
ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม
ด้านสังคมสงเคราะห์
ตั้งสโมสรวัฒนธรรมฝ่ายหญิง
จัดตั้งองค์กรส่งเสริมการสมรสเเละจัดพิธีสมรสหมู่เพื่อรักษาระบบครอบครัวและประเพณีไทย
ตั้งโรงพยบาลสงเคราะห์หญิงและสตรีมีครรภ์และบุตร
ด้านการเมือง
จัดตั้งสหพันธ์กรรมกรหญิง
ก่อตั้งสภาสตรีแห่งชาติ
ก่อตั้งศาลคดีเด็กและเยาวชนกลาง
ด้านการประกอบอาชีพและกิจกรรมสังคม
ท่านผู้หญิงตลับ สุขุม
เป็ฯตัสแทนของสตรีที่สามาร๔ปรับปรับตัวเข้าสู่การสมาคมระดับสูงในวงศ์การทูตของอังกฤษ
ร่วมก่อตั้งโรงเรียนเบญจมราชอุทิศ
กลุ่มสตรีที่ประกอบอาชีพด้านกฏหมาย
คุณหญิงเเร่ม พรหโมบล
คุณหญิงสุภัทรา สิงหลกะ
กลุ่มสตรีที่ประกอบอาชีพด้านการศึกษา
สตรีจากราชสกุลกุญชร
หม่อมหลวงบุปผา (กุญชร)
หม่อมหลวงบุญเหลือ (กุญชร)
หม่อมหลวงพวงร้อย (สนิทวงศ์) อภัยวงศ์
ท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์
มีส่วนสนับสนุนการพัฒนาสถานภาพของสตรีในพระราชดำริของสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี
จัดพิมพ์ตำรา แม่ครัวหัวป่าห์
หม่อมเจ้าหญิงพูลพิศมัย ดิสกุล
มีส่วนร่วมก่อตั้งองค์การพุทธศาสนิกชนสัมพันธ์แห่งโลก
หม่อมศรีพรหมมา กฤดากร
นำเทคโนโลยีและวิธีชีวิตแบบตะวันตกมาประยุกต์ใช้ในครอบครัว