Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 15 การวิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรให้เหมา…
หน่วยที่ 15 การวิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลง
15.1 กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์
1.2 การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมด้านนวัตกรรม
พื้นฐานทางความคิดการวิเคราะห์ที่สำคัญ
1 การวิเคราะห์ระบบเพื่อหาทางตอบโจทย์ที่พึงปรารถนา
2 การวิเคราะห์ข้อมูล
เทคนิคการวิเคราะห์ที่สำคัญ
1 การวิเคราะห์วิธีการของความคิดสร้างสรรค์
3 การวิเคราะห์การตลาดในรูปแบบที่สำคัญ
4 การวิเคราะห์แบบสร้างภาพอนาคต
2 การวิเคราะห์ลักษณะทางสัณฐานวิทยา
กรอบสำคัญของข้อมูลในการวิเคราะห์
2 กระแสสังคม
3 เทคนิคและวิธีการรวบรวมข้อมูลป้อนแก่ผู้ดำเนินการ
1 การวินิจฉัยนวัตกรรม
4 เหตุผลของการวิเคราะห์เพื่อคาดการณ์แนวโน้มและหาคำตอบโจทย์ที่เหมาะสม
1.3 การสังเคราะห์และกระบวนการสังเคราะห์ ด้านนวัตกรรม
ความหมายของการสังเคราะห์ คือการบูรณาการองค์ประกอบหรือปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กันด้วยหลักการของเหตุและผลโดยการเชื่อมโยงประเด็นปัญหาความต้องการเหมือนกันและทางออกที่มีลักษณะเป็นสถานการณ์ที่จำเป็นที่ผ่านการวิเคราะห์แยกแยะสืบค้นหรืออาจจะยังมาก่อนเข้าด้วยกันเพื่อเป็นองค์ประกอบร่วมหรือปัจจัยร่วมของการแสวงหาการตอบโจทย์ที่เป็นทางเลือกหรือทางออกของโอกาสเจ้าต้องการสร้างสิ่งใดขึ้นมาหรือสิ่งใดที่จะค้นหานั้นหรือคืออะไรมาตีความเป็นประเด็นร่วมเดียวหรือโครงสร้างหรือกระบวนการใหม่เพื่อเกิดผลผลิตหรือช่วยสรุปความคิดที่กระจัดกระจายให้เข้าใจด้วยความคมชัดและครบถ้วน
ตัวอย่างการสังเคราะห์
ประเด็น การขับเคลื่อนเศรษฐกิจของไทยด้วยนวัตกรรม
1 เป้าหมายของการสังเคราะห์
ไทยมีแนวทางที่สำคัญในการบริหารจัดการกับแนวคิด ไทย 4.0 ในสภาวะปกติใหม่
2 ประเด็นปัญหาและความต้องการ
2.4 ปัญหานวัตกรรมก้าวกระโดดเปลี่ยนรูปแบบ/ความต้องการสร้างหรือฉกฉวยโอกาส ที่เกิดจากโลกาภิวัตน์
2.5 ปัญหาการนำนวัตกรรมมาขับเคลื่อนเศรษฐกิจ/ความต้องการการเกิดค้าปลีกแบบใหม่ที่รวมโลกออฟไลน์และออนไลน์เข้าด้วยกัน
2.3 ปัญหาโลกยุคสภาวะปกติใหม่ทำให้ภาคเกษตรและอาหารของไทยมีความเสี่ยง/ ความต้องการโครงสร้างใหม่ที่เหมาะสมต่อการหลุดจากกับดักการก้าวไปสู่การเป็นประเทศมีรายได้สูงสร้างการพึ่งพาตนเองเพื่อก้าวสู่ประเทศที่มีรายได้สูงด้วยเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
2.6 มีแรง ผลักดันทางเทคโนโลยี การผลิตในประเทศไทยที่ไม่สอดคล้องกับความต้องการ/ความต้องการแนวคิดประชารัฐ
2.2 ปัญหาไทยพึ่งพาการส่งออกร้อยละ 70 /ความต้องการการปรับสมดุลสู่สภาวะปกติใหม่
2.7 ปัญหาในห้วงเวลาที่กำหนด/ความต้องการเน้นหนักคนรุ่นใหม่ให้การศึกษาเพื่อส่งเสริมจินตนาการ
2.1 ปัญหาสภาวะปกติใหม่//ความต้องการหลุดพ้นจากกับดักรายได้
2.8 ปัญหามีการใช้ทรัพยากรเพิ่มมากขึ้น/ความต้องการดำเนินการตามมาตรฐานสากลและมาตรฐานของประเทศคู่ค้าโดยการใช้เทคนิคการเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
1.1 การวิเคราะห์และกระบวนการวิเคราะห์
การวิเคราะห์คือการจำแนกแยกแยะสิ่งใดสิ่งหนึ่งด้วยการทดลองในการสังเกตปรากฏการณ์รอบตัวหรือทำการแตกประเด็นอย่างมีระบบขององค์ประกอบหรือปัจจัยเพื่อหาหลักการความสำคัญของโครงสร้างและระบบด้วยความรู้เชิงลึกให้เกิดการกำหนดรู้ประเด็นสำคัญของข้อมูลความคิดให้เกิดความเข้าใจอย่างแจ่มชัดว่ามีองค์ประกอบหรือปัจจัยใดที่เกี่ยวข้องในแต่ละสถานการณ์ความไม่แน่นอนด้วยการหาเหตุและผลเพื่อวินิจฉัยโอกาสและสร้างสมมติฐาน
กระบวนการสำคัญในการวิเคราะห์ระบบ
4 การประเมินค่าเบื้องต้น
4.3 ประเมินปัจจัยนำเข้า
4.2 การศึกษาความเป็นไปได้
4.1 การใช้ดุลพินิจตัดสินคุณค่าว่ามีประโยชน์
5 กำหนดทางเลือกที่เหมาะสมหลายทางเลือก
5.1 มีการทดลองปฏิบัติก่อน
5.2 มีการใช้คุณลักษณะที่จำเป็นต่อความสำเร็จ
3 การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลและแหล่งข้อมูลในการวิเคราะห์
3.3 แหล่งข้อมูลที่มีความหมายและวิธีการรวบรวมข้อมูลที่ถูกต้องเหมาะสมเพราะเป็นการสร้างความน่าเชื่อถือมากกว่าแหล่งข้อมูลที่ไม่น่าเชื่อถือ
3.4 การตีความ
3.2 แยกแยะข้อเท็จจริงหรือความคิดเห็นได้ดี
3.1 ความน่าเชื่อถือและความตรงของข้อมูลของเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
3.5 การนิรนัย
6 การสืบค้นและวิเคราะห์กลยุทธ์วิธี วิธีการ เทคนิคและเครื่องมือเพื่อให้เกิดผล
2 การกำหนดเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ที่ระบุ
7 การสร้างเครื่องมือและตัวชี้วัดในการวัดผลแนวทาง
7.1 ตัวชี้วัดเนื้องานที่สำคัญKey Performance Indicator : KPI
7.2 ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ Critical Success Factor : CSF
7.3 ปัจจัยความสำเร็จที่สำคัญ Key Success Factor : KSF
7.3.1 ผลได้
7.3.2 ผลลัพธ์
7.3.3 ผลกระทบ
1 การกำหนดปัญหาในสถานการณ์ที่ไม่แน่นอน
1.1 เข้าใจความหมายของปัญหาให้ถูกต้อง
1.2 การประเมินความจำเป็นและการตอบโจทย์ตามวิสัยทัศน์กำหนดมีประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้อง
1 การวิเคราะห์ข้อมูลหลายองค์ประกอบ
2 การเรียงลำดับความสำคัญ
15.2 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
2.2 แนวคิดการเข้าสู่เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
สาเหตุที่ประเทศไทยต้องขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม
1 การขยายตัวทางเศรษฐกิจโลกยังคงอ่อนแอและอาจตกตัวต่อเนื่องมีปัญหาหลายด้าน
2 ความสำคัญของการใช้นโยบายทางการเงินและการคลังและการปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจ
3 การผลิตที่ล้นความต้องการของตลาด
การปรับเปลี่ยนของภาคเกษตรและอาหารเข้าสู่เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
4 แนวคิดเทคโนโลยีดิจิตอลและการขับเคลื่อนโลกด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5 แนวคิดด้านพลังงานทางเลือกด้านพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานอื่นๆเพื่อภาคเกษตรและอาหาร
3 แนวคิดด้านความรับผิดชอบต่อสังคมในรูป CSR
6 การพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรอย่างยั่งยืน
2 แนวคิดการยกระดับมาตรฐานอาหารไทยและความเป็นเอกลักษณ์ด้านรสชาติอาหารไทยสู่ภาคอุตสาหกรรม
7 การเพิ่มตลาดใหม่ที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความหลากหลายและลดความเสี่ยงในการพึ่งพาโดยเฉพาะพืชสำคัญที่ไทยมีศักยภาพ
1 การขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม
8 พื้นฐานความคิดที่เกี่ยวข้อง
รากฐานของความคิดพื้นฐานของการเข้าสู่สังคมนวัตกรรมในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้านการลงทุน
1 สร้างการพึ่งพาตนเอง
2 เกิดการกระจายความเสมอภาค
2.3 ทิศทางและแนวทางเลือกที่สำคัญของเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
ทางเลือกเพื่อตอบโจทย์ด้านโครงสร้างเศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมที่เกิดความเป็นไปได้ของเส้นทาง
1 กลุ่มสินค้าเป้าหมายตามยุทธศาสตร์เชิงรุกที่สมดุล 1.1 กลุ่มผลักดัน 1.2 กลุ่มสนับสนุน 1.3 กลุ่มติดตามและเร่งแก้ไข 1.4 กลุ่มเร่งแก้ไข
2 การดูแลเน้นหนักเศรษฐกิจท้องถิ่น
3 การเสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจของไทยของภาคเอกชนของ SME
4 ภาคเอกชนจะมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นอย่างไร
5 การปรับตัวตามทางเลือกใหม่ของ SMEs ภาคเกษตรและอาหารด้วยการเน้น smes ไทยที่มีความพร้อม
การปฏิบัติตามเงื่อนไขกระแสของโลกด้านการพัฒนา
1 การปฏิบัติตามเงื่อนไขการพัฒนาด้านการลดความเหลื่อมล้ำการมีส่วนร่วมของชุมชนและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
2 การดำเนินการที่ตอบสนองมาตรฐานโลกของภาคเกษตรและอาหารด้านการเพิ่มคุณค่ามากขึ้น
2.1 ทิศทางและแนวทางเลือกที่สำคัญ
พื้นฐานความคิดของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องการแก้ปัญหาและสาเหตุหลักของภาคเกษตรและอาหาร
2 การกำหนดยุทธศาสตร์กลยุทธ์หลักของการดำเนินการสู่เป้าหมายตามวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้
3 การกำหนดกลุ่มเป้าหมายหลัก
1 การผลิตที่เป็นห่วงโซ่อุปทาน
2 ห่วงโซ่คุณค่า
1 การกำหนดวิสัยทัศน์ที่ชัดเจน
ปัญหาและสาเหตุสำคัญที่เป็นแรงผลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม
2 การส่งออกภาคเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร
3 การเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวทางการตลาดของผู้ผลิตอุตสาหกรรมการเกษตรและอาหารบางอย่างในประเทศไทย
1 หนี้ในครัวเรือน
4 นวัตกรรม เทคโนโลยีการผลิตในประเทศไทยไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดและผลิตไม่ครบวงจร
5 การพัฒนาแบบยั่งยืน
6 ความจำเป็นในการพัฒนาผู้ประกอบการเกษตรและอาหารให้รับมือได้ ได้ต่อการเปลี่ยนแปลงแบบก้าวกระโดดของโลก
15.3 การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรด้านนวัตกรรมต่อการเปลี่ยนแปลง
3.2 กลุ่มเป้าหมายภาคเกษตรและอาหารด้านนวัตกรรมในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม
กระบวนการพัฒนากลุ่มเป้าหมายเครือข่ายให้ตอบโจทย์ในเรื่องของ
1 สินค้าและบริการตามมาตรฐานสากลตามที่มีการกำหนดเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
2 มีการพัฒนาสินค้านวัตกรรมให้ตอบสนองความคาดหวังของกลุ่มเป้าหมายลูกค้าในตลาดทุกรูปแบบ
พัฒนา SMEs และกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรที่มีความพร้อม
1 การสนับสนุนของภาครัฐและสถาบันเอกชน
2 เจ้าหน้าที่ของรัฐในด้านการส่งเสริมและพัฒนา
การประสานพลังของเจ้าหน้าที่รัฐและเอกชนในการสนับสนุนให้เกิดความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
1 มีการคัดเลือกกลุ่มหลากหลายที่จะเป็นต้นแบบ ในแต่ละพื้นที่ในระดับอำเภอ
2 การกระตุ้นโดยหน่วยงานรัฐที่มีความพร้อมและมีการจัดการฝึกอบรมเป้าหมายในระดับหนึ่งอยู่แล้ว
3.3 แนวคิดการประสานพลังเพื่อนวัตกรรมในชุมชนด้านการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การประสานพลังประชารัฐในการสนับสนุนนวัตกรรม
1 การประสานพลังในระดับชาติ
2 การประสานพลังในระดับท้องถิ่น
ปัจจัยเกี่ยวข้องกิจกรรมการประสานพลังด้านนวัตกรรม
2 การสนับสนุนนวัตกรรมให้เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจของคนในองค์กร
3 การปรับเปลี่ยน
1 การบูรณาการ
4 การทดแรงเพิ่มพลัง (Leverage)
บทบาทของนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรในการประสานพลังเพื่อสร้างนวัตกรรม
2 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
3 ผู้สนับสนุนการจัดตั้งองค์กรและประสานงานสนับสนุนการบริหารจัดการองค์กรเครือข่ายให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดในวิสัยทัศน์ขององค์กร
1 ผู้กระตุ้น
4 ผู้แนะนำแหล่งข้อมูล
คุณลักษณะที่สำคัญของแกนนำกลุ่มเป้าหมายในการสร้างนวัตกรรมการเกษตรและอาหาร
3 การเปลี่ยนปัญหาเป็นปัญญา
4 มีความคิดที่คิดนอกกรอบในการแสวงหาโอกาสใหม่ๆด้วยการกำหนดภาพรวมชีวิตใหม่
2 มีแรงบันดาลใจสู่ความสำเร็จและมีเลือดนักสู้อย่างมีเหตุมีผล
5 เข้ารับการบ่มเพาะความรู้ด้านธุรกิจเพื่อกำหนดกลยุทธ์ที่สร้างความสำเร็จ
1 ผู้ที่สามารถแปรวิกฤตเป็นโอกาสได้
6 มีหัวใจเป็นนักนวัตกรรม
3.1 การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรในการตอบโจทย์ของการกระจายความเสมอภาคในด้านเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อม
ความสามารถรับมือได้กับประเทศไทย 4.0 ในสภาวะปกติใหม่
1 การลดความเสี่ยงน้อยที่สุดมีความเป็นไปได้ในการสามารถปฏิบัติ
2 การปรับเปลี่ยนบางด้านเมื่อกลุ่มเป้าหมายและชุมชนเริ่มมีระบบระดับการพัฒนาสูงขึ้น
3 การตอบโจทย์ในอนาคตที่มีความเป็นไปได้
การกำหนดยุทธศาสตร์
1 การทำงาน 4 ระยะของกระทรวงพาณิชย์ในร่างยุทธศาสตร์ 20 ปี 2559 ถึง 2579
2 เป้าหมายของยุทธศาสตร์ที่สำคัญ
2.2 การสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจการค้าส่งจุด
2.1 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจของการค้าของประเทศ
2.3 การสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการค้า
3 มียุทธศาสตร์รวม 4 ด้าน
3.2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการค้าให้มีประสิทธิภาพ
3.3 ยุทธศาสตร์การสร้างบทบาทผู้บริโภคให้มีความรับรู้มีเหตุผลมีภูมิคุ้มกัน
3.1 ยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้ประกอบ การ SME อย่างครบวงจร
3.4 การบูรณาการกับระบบการค้าโลกกับประเทศเพื่อนบ้าน
การปรับตัวภาคการเกษตรและอาหารเข้าสู่ระบบ Smart Farm
1 ใช้เทคโนโลยีทางการเกษตรที่เกิดความแม่นยำสูง
2 มีการใช้ระบบเทคโนโลยีอัตโนมัติ