Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการพยาบาลผู้สูงอายุ และการเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
ทฤษฎีการพยาบาลผู้สูงอายุ และการเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยภายนอก
กรรมพันธุ์ สุขภาพอนามัย การมองโลกและประสบการณ์ชีวิต ความเชื่อ
ปัจจัยภายนอก
การศึกษา เศรษฐกิจ เช่น เงินเดือน ดอกเบี้ย สิ่งแวดล้อมที่อยู่ การเกษียณงาน
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย
ระบบผิวหนัง : ผิวหนังบางลง เซลล์ผิวลดลง การสร้างเซลล์ใหม่ขึ้นมาทดแทนเซลล์เดิมช้าลง แผลหายช้า ผิวหนังเหี่ยวย่น เกิดแผลกดทับได้ง่ายและทนต่อความเย็นได้ลดลง
ปัญหาทางการได้ยิน : หูตึง การเสื่อมของ organ of corti และ bacilar membrane ร่วมกับเส้นประสาทคู่ที่ 8
ระบบประสาท : ขนาดของสมองลดลง เซลล์ประสาทและเซลล์สมองลดลง ประสิทธิภาพการทำงานของสมองลดลง
การมองเห็น : ลูกตาขนาดเล็กลงและลึกเพราะไขมันของลูกตาลดลง การปรับตัวในการมองเห็นในสถานที่ต่างๆไม่ดี โดยเฉพาะในสถานที่มืดและตอนกลางคืน แยกสีแดง ส้ม และเหลืองได้ดี
การสื่อสาร : ไม่ตะโกน เสียงทุ้ม พูดคำง่ายๆชัดๆ ชัดเจน
การดมกลิ่นไม่ดี
กล้ามเนื้อกล่องเสียงและสายเสียงบางลง : สาเหตุขาดฮอร์โมนเอสโตรเจน
ระบบหัวใจและหลอดเลือด : ขนาดหัวใจโตขึ้น ระบบภูมิคุ้มกันทำงานลดลง
ระบบหายใจ : ความยืดหยุ่นของปอดลดลง ถุงลมปอดลด
ระบบทางเดินอาหาร : ฟันสึกกร่อน ฟันเปราะ ฟันผุ หลุดล่วงง่าย
ระบบทางเดินปัสสาวะ และระบบสืบพันธุ์ : ไตขับของเสียออกจากร่างกายได้ลดลง
ระบบต่อมไร้ท่อ : ตับอ่อนหลั่งอินซูลินลดลง
การป้องกันความเสื่อมในผู้สูงอายุ
อุบัติเหตุ แผลบริเวณผิวหนัง : หลีกเลี่ยงการประคบร้อนหรือเย็นจัดเกินไป
ภาวะขาดสารอาหาร เบื่ออาหาร และโลหิตจาง : เลือกรับประทานอาหารที่มีคุณค่าสูงครบทั้ง 5 หมู่
กระดูกเปราะและหักง่าย ปวดข้อ : รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง
กล้ามเนื้อหัวใจตาย หัวใจวาย ความดันโลหิตสูง สมองขาดเลือด : ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
การติดเชื้อในทางเดินหายใจ สำลัก : กินอาหารช้าๆ หลีกเลี่ยงการพูดขณะรับประทาน
เบาหวาน : ควบคุมอาหาร
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ
อาจเกิดจากการสูญเสีย เช่น สูญเสียความสามารถทางด้านร่างกาย สูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม
การสูญเสียทำให้ผู้สูงอายุโกรธและโทษตัวเอง
ทฤษฎีผู้สูงอายุ
ทฤษฎีทางชีวภาพ ที่อธิบายความชราทางชีววิทยา
ทฤษฎีอนุมูลอิสระ
ทฤษฎีสะสม
ทฤษฎีการเชื่อมตามขวาง
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม
ทฤษฎีพันธุกรรม
ทฤษฎีระบบประสาท/ต่อมไร้ท่อและภูมิคุ้มกัน
ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตวิทยา การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและจิตใจ
ทฤษฎีการถดถอย
ทฤษฎีการมีกิจกรรม
ทฤษฎีความต่อเนื่อง
แนวคิดพัฒนกิจชีวิตของอิริคสัน
ทฤษฎีของเพค