Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปเคมี บทที่ 1-4, 262107818_632189671470628_4158197192731535681_n,…
สรุปเคมี บทที่ 1-4
สารละลาย คอลลอยด์
และสารแขวนลอย
ชนิดของสารละลาย :black_flag:
สารละลายแก๊ส เช่น อากาศ น้ำในอากาศ
สารละลายของเหลว เช่น น้ำโซดา เกลือแกงในน้ำ
สารละลายของเเข็ง เช่น Cu ใน Au
ความสามารถในการละลายแบ่งเป็น 3 ชนิด
:black_flag:
สารละลายไม่อิ่มตัว
(Unsaturated solution)
ตัวละลายมีความสามารถ
ในการละลายได้น้อยกว่าปริมาณน้อยสุด หรือตัวละลายยังสามารถละลายได้อีก
ส่วนสารละลายอิ่มตัว
(Saturated solution)
ตัวละลาย ละลายได้
ปริมาณสูงสุดที่อุณหภูมิหนึ่ง
สารละลายอิ่มตัวยิ่งยวด
(Supersaturated solution)
ตัวละลายละลายได้มากกว่าสารละลายอิ่มตัว
แต่ไม่เสถียรเมื่อเวลาผ่านไป ตัวละลายบางส่วนจะแยกออกมาในรูปผลึก
หน่วยความเข้มข้น
:black_flag:
ร้อยละ
ร้อยละโดยมวล
ร้อยละโดยปริมาตร
ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร
โมลาริตี (Molarity)
โมแลลิตี (Molality)
เศษส่วนโมล (Mole fraction)
การเตรียมสารละลาย (Preparing a solution)
:black_flag:
การเตรียมสารละลายจากของแข็ง
การเตรียมสารสละลายจากของเหลว
:black_flag: ปัจจัยที่มีผลต่อการละลาย
ผลของอุณหภูมิต่อความสามารถในการละลาย
ผลของความดันต่อความสามารถในการละลาย
:black_flag: สมบัติคอลลิเกทิฟ
คือ สมบัติทางกายภาพที่ขึ้นอยู่กับ
:pencil2:
จำนวนอนุภาคของตัวละลายในตัวทำละลายบริสุทธิ์ ส่งผลให้สมบัติทางกายภาพบางอย่างของสารละลายเกิดการเปลี่ยนแปลง
:pencil2:
ไม่ขึ้นอยู่กับชนิดของตัวละลาย
คอยลอยด์
ชนิดของคอลลอยด์
เป็นการกระจาย
ของอนุภาคหนึ่ง เรียกว่า วัฏภาคกระจาย
เกิดการกระจายอย่างสม่ำเสมอในอีกตัวกลางหนึ่ง ตัวอย่างของระบบคอลลอยด์
แบ่งได้ 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
ปรากฏการณ์ทินดอลล์(Tyndall effect)
สมบัติหนึ่งที่สามารถแยกสารละลายและคอลลอยด์ได้ คือ การฉายแสงผ่าน หากฉายแสงผ่านคอลลอยด์จะเกิดการการะเจิงของแสง
อุณหพลศาสตร์
: