Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 14 การจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
หน่วยที่ 14 การจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
14.1 แนวคิดเกี่ยวกับความรู้ในการส่งเสริม
14.1.1 ความหมายและความสำคัญของความรู้
ความหมายของความรู้ หมายถึง สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาค้นคว้าหรือประสบการณ์รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะความเข้าใจหรือสารสนเทศที่ได้รับจากประสบการณ์สิ่งที่ได้รับจากการได้ยินได้ฟังการคิดและการปฏิบัติ ด้วย
ความรู้มี 4 ระดับ 1 ความรู้เชิงทฤษฎี 2 เชิงปฏิบัติและเชิงบริบท 3 ในระดับที่อธิบายเหตุผล 4 ในระดับคุณค่าความเชื่อ
ข้อมูลเป็นข้อมูลดิบเกี่ยวกับข้อเท็จจริงเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ธรรมชาติ
สารสนเทศเป็นข้อมูลที่ผ่านกระบวนการสังเคราะห์วิเคราะห์และปรับแต่งจนชัดเจนมีแบบแผนสามารถเข้าใจในเนื้อหาของเนื้อความนั้นและนำมาใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการและตัดสินใจได้
ความรู้เป็นสารสนเทศที่ผ่านกระบวนการคิดเปรียบเทียบเชื่อมโยงกับความรู้อื่นจนเกิดเป็นความเข้าใจและนำไปใช้ประโยชน์ในการสรุปและตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆได้โดยไม่จำกัดช่วงเวลา หรือกล่าวได้ว่าความรู้เป็นสารสนเทศที่ก่อให้เกิดประโยชน์ในการนำไปใช้งาน
ปัญญาคือความรู้ความเข้าใจในสิ่งทั้งหลายตามสภาพความเป็นจริงซึ่งความเข้าใจเกิดจากการรู้ทั่วถึงเหตุและผลนวัตกรรม เป็นขั้นการสร้างสรรค์ความรู้สูงกว่าความรู้ทั่วไปเป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในจิตใจตนเองให้ต้องกระทำสิ่งนั้นๆเมื่อเผชิญสถานการณ์ปัญหาความรู้ที่ตนเองมีอยู่จะถูกสกัดประมวลวิเคราะห์ผนวกกับความรู้ที่ได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้เป็นนวัตกรรม
ความสำคัญของความรู้
2 ช่วยให้เกษตรกรและส่งเสริมสามารถพัฒนาตนเองให้ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
3 ช่วยสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
1 ช่วยแก้ปัญหาหรือขจัดความสงสัยทำให้เกษตรกรได้นะส่งเสริมสามารถ สร้างวิธีการป้องกันและหรือแก้ไขปัญหาเพื่อจัดการกับปัญหาของตนเองและปัญหาของสังคมส่วนรวม
14.1.2 ลักษณะและประเภทของความรู้
14.1.2 ลักษณะของความรู้
1 ความรู้ชุมชน
1.3 เป็นความรู้ที่ไม่อยู่ในลายลักษณ์อักษร
1.4 มีมุมมองที่เกี่ยวกับศาสนาธรรม
1.2 เป็นความรู้ที่ไม่อ้างความเป็นสากล
1.1 มีลักษณะเป็นความรู้ในเชิงปฏิบัติ
2 ความรู้ที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าวิจัย
2.2 เป็นความรู้ที่อยู่ในลายลักษณ์อักษร
2.3 สามารถถ่ายทอดจากคนได้โดยอาศัยสื่อและเครื่องมือด้วยวิธีการต่างๆ
2.1 เกิดขึ้นได้โดยอาศัยกระบวนการศึกษาค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์
2.4 มีลักษณะเป็นความรู้ทั้งในเชิงปฏิบัติหรือทฤษฎี
ประเภทของความรู้
จำแนกตามลักษณะการปรากฎ
1 ความรู้ชัดแจ้งหรือความรู้ที่ปรากฏ
2 ความรู้ฝังลึกหรือความรู้แฝงเร้น
จำแนกความรู้ตามที่มาของความรู้
1 ความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาดั้งเดิมหรือภูมิปัญญาท้องถิ่น
2 ความรู้ที่ถูกสร้างขึ้นมาใหม่
14.1.3 การแสวงหาการถ่ายโอนและการถ่ายทอดความรู้
การแสวงหาความรู้
หมายถึง
การค้นหาให้พบหรือให้ได้ความรู้ข้อมูลข่าวสารสนเทศที่ต้องการและทำให้ความรู้นั้นเข้ามาอยู่ในตัวมนุษย์
วัตถุประสงค์หลัก
1 เพื่อนำความรู้มาใช้ประโยชน์
1.1 แสวงหาความรู้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว
1.2 แสวงหาความรู้เพื่อประโยชน์อื่นหรือเพื่อสาธารณประโยชน์
2 เพื่อสนองความอยากรู้อยากเห็น
วิธีการแสวงหาความรู้
1 การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชนมาปรับใช้ให้ตอบสนองกลุ่มเป้าหมาย
2 การต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
3 การแสวงหาความรู้ใหม่
4 การพัฒนาความรู้ขึ้นใหม่
การถ่ายโอนและการถ่ายทอดความรู้
2 การถ่ายโอนความรู้จักบุคคลสู่กลุ่ม
3 การถ่ายโอนความรู้จากกลุ่มสู่กลุ่ม
1 การถ่ายโอนความรู้จักบุคคลสู่บุคคล
14.2 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้
14.2.1 ความหมายหลักการและองค์ประกอบในการจัดการความรู้
ความหมายของการจัดการความรู้
2 การจัดการความรู้เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนความรู้ความพยายาม
3 การจัดการความรู้ต้องอาศัยผู้รู้
1 การรวบรวมการจัดระบบการจัดเก็บและการเข้าถึงข้อมูลเพื่อสร้างเป็นความรู้
4 การเพิ่มประสิทธิผลขององค์กร
เป้าหมายการจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
2 เพื่อพัฒนาคน
3 เพื่อพัฒนาฐานความรู้ของการส่งเสริม
1 เพื่อพัฒนาการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
4 เพื่อพัฒนาความเป็นชุมชน
หลักการจัดการความรู้
4 การทดลองและเรียนรู้
5 การผลิตที่ใช้ภูมิปัญญาบนฐานทรัพยากรที่มีในท้องถิ่น
3 การดำเนินการแบบบูรณาการ
3.2 การบูรณาการเชิงวิธีการ
3.1 การบูรณาการเชิงเนื้อหา
6 การนำความรู้จากภายนอกมาปรับใช้อย่างเหมาะสมและให้สอดคล้องกับระบบเดิมที่มีอยู่
2 ร่วมกันพัฒนาวิธีการทำงานเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรในรูปแบบใหม่ๆ
องค์ประกอบ
2.2 นวัตกรรม
2.3 ขีดความสามารถ
2.1 การตอบสนองความต้องการที่แท้จริง
2.4 ประสิทธิภาพ
7 การเรียนรู้เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
1 การทำงานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ของสมาชิกที่หลากหลายทักษะและหลากหลายวิธีคิด
องค์ประกอบของการจัดการความรู้
2 กระบวนการความรู้
3 เทคโนโลยี
1 คน
1.2 นักส่งเสริมในพื้นที่
1.3 บุคคลที่ส่งเสริมให้เกิดเป้าหมายทิศทางของการจัดการความรู้
1.1 เกษตรกรเป้าหมาย
14.2.2 การสร้างและการยกระดับความรู้
การสร้างรายการยกระดับความรู้
2 การสกัดความรู้ออกจากตัวคน Externalization : E
3 การผนวกความรู้ชัดแจ้งเข้าด้วยกัน Combination : C
1 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่นำไปสู่การขัดเกลาทางสังคม Socialization :S
4 การฝังหรือผนึกความรู้ในตน Internalization : I
ขั้นตอนการสร้างความรู้
2 สารสนเทศ
3 ความรู้
1 ข้อมูล
14.2.3 กระบวนการและวิธีการจัดการความรู้
กระบวนการจัดการความรู้
1 การจัดหาความรู้จากแหล่งความรู้ต่างๆ
1.4 การประมวลและกลั่นกรองความรู้
1.5 การเข้าถึงความรู้
1.3 การจัดองค์ความรู้ให้เป็นระบบ
1.2 การสร้างและแสวงหาความรู้
1.1 การบ่งชี้ความรู้
2 การแบ่งปันความรู้
3 การใช้หรือเผยแพร่ความรู้
วิธีการในการจัดการความรู้
3 การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน
4 ระบบพี่เลี้ยง
2 การใช้เทคนิคการเล่าเรื่อง
5 การประชุมระดมสมอง
1 การทำฐานข้อมูล
6 ชุมชนนักปฏิบัติ
14.3 การใช้การจัดการความรู้ในการส่งเสริม
14.3.2 กรณีศึกษาการจัดการความรู้ระดับชุมชน
บริบทของกลุ่ม
วัตถุประสงค์การจัดการความรู้ของชุมชนของศูนย์เรียนรู้ชุมชน
การจัดการความรู้ของศูนย์เรียนรู้ชุมชน
ปัจจัยเกื้อหนุนให้การจัดการเรียนรู้ประสบความสำเร็จ
14.3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องและแนวทางการจัดการความรู้
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
1 เป้าหมายความรู้
6 ผู้นำกลุ่มและผู้นำชุมชน
7 นักส่งเสริม
5 สมาชิกในกลุ่มและสมาชิกชุมชน
4 แหล่งความรู้ที่สามารถเข้าถึงถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนได้สะดวก
8 เทคโนโลยีและกระบวนการจัดการความรู้
3 ฐานความรู้
9 บรรยากาศและวัฒนธรรมการทำงานของกลุ่มและชุมชน
2 ลักษณะความรู้
10 การมีเครือข่ายภาคีและชุมทางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่หลากหลาย
11 การสนับสนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
12 การประเมินผลการจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวทางในการจัดการความรู้
5 การปรับวิธีการและเนื้อหาสาระที่จะทำการถ่ายทอด
6 ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทำงานในกลุ่มและชุมชน
4 การขยายผลและการต่อยอดความรู้
7 การจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
3 การค้นหาความรู้
8 การจัดการความรู้อย่างบูรณาการ
2 การจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรควรจัดการอยู่บนฐานทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น
9 เน้นใช้วิธีการจัดการความรู้จากการได้ปฏิบัติจริง
1 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มและชุมชน
10 จัดทำระบบฐานข้อมูลให้เอื้อต่อการเก็บและการนำมาใช้ประโยชน์
11 การมีผู้กระตุ้นหรือประสาน
12 กระตุ้นให้มีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ในกลุ่มสมาชิกและเครือข่ายกับภายนอก
13 ใช้กระบวนการ วิจัยเชิงปฏิบัติการ แบบมีส่วนร่วมเป็นตัวขับเคลื่อนกระบวนการจัดการความรู้
14 การจัดการความรู้ที่สอดแทรกไปกับการทำงานปกติ
14.3.1 กรณีศึกษาการจัดการความรู้ระดับองค์กร
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการจัดการทรัพยากรชุมชน สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ได้พัฒนาหลักสูตร การเรียนรู้ทางไกลของเกษตรกรด้านอาหารปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ หนึ่งที่มาของการจัดการความรู้
กระบวนการจัดการความรู้
วัตถุประสงค์
หลักการในการจัดการเรียนรู้ของเกษตรกร
ผลที่ได้จากการจัดการเรียนรู้ปัจจัยเกื้อหนุนให้การจัดการเรียนรู้ประสบความสำเร็จ