Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 13 การวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
หน่วยที่ 13 การวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
13.1 แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
13.1.1 ความหมายประโยชน์และประเภทของการวิจัย
การวิจัยเป็นการศึกษาข้อเท็จจริงโดยผู้วิจัยจะต้องมีความรู้มีความคิดริเริ่มและใช้กระบวนการการที่เชื่อถือได้อย่างเป็นระบบมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจนในการค้นหาคำตอบรวมถึงการยอมรับในผลการวิจัยที่เกิดขึ้นและนำไปใช้
ประโยชน์ต่อไปประโยชน์ของการวิจัย 1 ให้ความรู้ใหม่หรือวิทยาการใหม่ 2 ช่วยแก้ปัญหาข้อขัดข้อง 3 ช่วยพัฒนาระบบบริหาร 4 เผยแพร่ชื่อเสียงของผู้วิจัย
ประเภทของการวิจัย 1 เกณฑ์ที่อิงจุดมุ่งหมายของการวิจัย เป็นการวิจัยบริสุทธิ์กับการวิจัยประยุกต์ 2 เกณฑ์ที่อิงการควบคุมตัวแปรจำแนกออกเป็นการวิจัยเชิงทดลองกลุ่มทดลองกับการวิจัยตามธรรมชาติ 3 เกณฑ์ที่อิงประเภทของข้อมูลจำแนกได้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณการวิจัยเชิงคุณภาพ 4 เกณฑ์ที่อิงเวลาที่เกิดเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นจำแนกได้เป็นเชิงประวัติศาสตร์ปัจจุบันและอนาคต 5 เกณฑ์ที่อิงสาขาวิชาจำแนกได้เป็นการวิจัยทางการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ทางสังคมวิทยา
13.1.2 ลักษณะและประเด็นการวิจัย
ลักษณะและประเด็นการวิจัย
3 การวิจัยเชิงปฏิบัติการ
2 การวิจัยเชิงศึกษาเฉพาะกรณี
1 การวิจัยเชิงสำรวจ
4 การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย
ประเด็นการวิจัย
2 การวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีการเกษตรและการปรับใช้
4 เทคโนโลยีด้านดินและปุ๋ย
5 เทคโนโลยีด้านอาหารสัตว์
3 เทคโนโลยีการให้น้ำ
6 เทคโนโลยีด้านฮอร์โมนและสารเคมี
2 เทคโนโลยีด้านการเกษตรกรรม
7 ด้านการดูแลรักษาและการเก็บเกี่ยว
1 เทคโนโลยีด้านการปรับปรุงบำรุงพันธ์
8 เทคโนโลยีด้านระบบการปลูกพืช
1 การวิจัยทางการเกษตร
ประเด็นการวิจัยในงานส่งเสริมการเกษตร
1 การปรับปรุงคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ
2 ระบบเกษตรกรรมและระบบชลประทาน
3 การเก็บเกี่ยวการเก็บรักษาและการแปรรูป
4 การนำผลิตผลและวัสดุเหลือใช้มาใช้
5 การนำความรู้พื้นฐานทางชีววิทยามาใช้ประโยชน์
6 การถ่ายทอดเทคโนโลยี
7 เศรษฐกิจและสังคมที่เกี่ยวกับการเกษตร
8 การแก้ไขปัญหาสำคัญหรือปัญหาเร่งด่วนโดยเฉพาะ
3 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
4 การเข้าถึงและการยอมรับ
5 สื่อที่ใช้ในการถ่ายทอด
3 เทคนิคในการถ่ายทอด
6 ผู้ถ่ายทอดเทคโนโลยี
2 วิธีการส่งเสริมการเกษตร
7 ระบบการส่งเสริมการเกษตร
1 การบริหารจัดการการถ่ายทอดเทคโนโลยี
8 ทรัพยากรที่ใช้ในการส่งเสริมการเกษตร
4 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาเกษตรกร
2 ความต้องการและทัศนคติของเกษตรกร
3 การรวมกลุ่มของเกษตรกร
1 สภาพพื้นฐานของเกษตรกร
4 ความเป็นผู้นำของเกษตรกร
5 พฤติกรรมและการวางตัวของเกษตรกร
6 การพัฒนาและการช่วยเหลือตนเองของเกษตรกร
5 การวิจัยด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
4 การแปรรูปและอุตสาหกรรม
5 การคมนาคมขนส่งและการบริการ
3 การตลาด
6 สภาพท้องถิ่น
2 การอนุรักษ์ทรัพยากร
7 ข้อมูลข่าวสาร
1 ปัจจัยการผลิต
8 สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและพลังงาน
13.1.3 ความสัมพันธ์ระหว่างการวิจัยกับการส่งเสริม
1 การวิจัย 2 การส่งเสริมและพัฒนา 3 เกษตรกร 4 นักส่งเสริม
การพัฒนาความสามารถในการวิจัยของนักส่งเสริม 1 ช่วยปรับปรุง หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน 2 ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถปรับตัวให้ทันกับความเปลี่ยนแปลง 3 ช่วยเสริมสร้างทัศนคติที่ถูกต้อง 4 ช่วยเสริมสร้างขวัญและกำลังใจ 5 ช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนผู้ปฏิบัติงาน
ในการปฏิบัติงานนั้นการพัฒนานักส่งเสริมให้มีความสามารถในการวิจัยโดยการฝึกอบรมการศึกษาการประชุมสัมมนาการมอบหมายภารกิจใหม่ๆและกิจกรรมอื่นๆที่นำไปสู่การเพิ่มพูนความรู้ด้วยการวิจัย 1 การฝึกอบรม 2 การศึกษาในสถาบันการศึกษา 3 การแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้รู้ 4 การลงมือทำการวิจัยเมื่อมีโอกาส
จรรยาบรรณของนักวิจัยที่นักส่งเสริมควรรู้และปฏิบัติ
3 ต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาที่ทำวิจัย
4 ต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย
2 ต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทำงานวิจัย
5 ต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย
1 ต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ
6 ต้องมีอิสระทางความคิด
7 พึงนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ
8 พึงเข้าร่วมความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น
9 พึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ
13.2 กระบวนการวิจัย
13.2.2 ขั้นดำเนินการวิจัย
การสร้างเครื่องมือ
1 กำหนดข้อมูลที่ต้องการ 1.1 คำถามเกี่ยวกับข้อเท็จจริง 1.2 คำถามเกี่ยวกับความรู้ 1.3 คำถามที่เป็นข้อคิดเห็นและทัศนคติ
2 การกำหนดรูปแบบของคำถามที่จะใช้ 2.1 คำถามแบบเปิด 2.2 คำถามแบบปิด
3 ร่างแบบสอบถาม
4 ตรวจสอบเพื่อแก้ไขปรับปรุง
5 จัดทำบรรณาธิการ
6 ทดลองใช้
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
3 ระดับการวัดตัวแปร 3.1 การวัดแบบกลุ่มหรือนำมาก 3.2 การวัดแบบจัดอันดับหรืออันดับมาตร 3.3 การวัดแบบช่วงหรือช่วงมาตร 3.4 การวัดอัตราส่วนหรืออัตราส่วนมาก
4 การเลือกใช้สถิติ 4.1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 4.2 จำนวนกลุ่มตัวอย่าง
2 การประมวลและวิเคราะห์ข้อมูล
1 สถิติบรรยาย
2 สถิติอ้างอิง
5 การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
1 การเตรียมและตรวจสอบข้อมูลเพื่อวิเคราะห์
13.2.3 ขั้นสรุปและรายงานผลการวิจัย
การสรุปผลการวิจัยอภิปรายและเสนอแนะ
1 การสรุปผลการวิจัย 1.1 สรุปผลเฉพาะประเด็นสำคัญ 1.2 ไม่จำเป็นต้องกล่าวอ้างอิงหรือแสดงความคิดเห็นใดๆของผู้วิจัย 1.3 ไม่ต้องนำเสนอตารางภาพประกอบและตัวเลขที่ซับซ้อน 1.4 ต้องไม่เสนอข้อมูลเพิ่มอีกและเป็นการชี้ให้เห็นจุดสำคัญมากกว่ารายละเอียด 1.5 ต้องตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัยและอยู่ภายในขอบเขตของการวิจัย 1.6 ต้องตรงตามข้อเท็จจริงของข้อมูลและไม่มีความลำเอียงของผู้วิจัย 1.7 ต้องเป็นผลจากการคิดทบทวนไตร่ตรองอย่างละเอียดรอบคอบ
2 การอภิปรายผลเป็นการนำข้อค้นพบจากการวิจัยมาประเมินตีความอธิบายขยายความ 1 เพื่ออธิบายถึงเหตุผลที่ทำให้ได้ผลการวิจัยเช่นนั้น 2 เพื่ออธิบายว่าผลการวิจัยสนับสนุนหรือคัดแย้งกับทฤษฎีที่กล่าวไว้ 3 เพื่อเปรียบเทียบกับผลการวิจัยของผู้อื่น 4 เพื่อเน้นถึงสาระสำคัญปัญหาของเรื่องที่ทำการวิจัย
3 ข้อเสนอแนะ
3.1 ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ มีข้อควรพิจารณาดังนี้ 1 ต้องไม่เป็นต้องเป็น สาระที่ได้จากการวิจัยจากข้อคิดเห็น 2 ควรเป็นเรื่องใหม่ไม่ใช่เรื่องที่รู้ๆกันอยู่แล้ว 2-3 ต้องปฏิบัติได้ภายในขอบเขตกำลังความสามารถและเวลา 4 ต้องเป็นผลจากที่ได้พิจารณาถึงข้อจำกัดและความจำเป็นต่างๆแล้ว 5 ควรมีรายละเอียดชัดเจนมากพอเพื่อสามารถนำไปปฏิบัติได้
3.2 ข้อเสนอแนะสำหรับการทำวิจัยต่อไปโดยเสนอแนะการวิจัย ควรขยายแนวทางการวิจัยต่อไปอย่างไร
การจัดทำรายงานผลการวิจัย
1 ประโยชน์ของการเขียนรายงานผลการวิจัย 1.1 เป็นการรายงานผลการศึกษาที่นักวิจัยค้นพบจากการวิจัย 1.2 เป็นสื่อกลางในการสร้างความรู้ความเข้าใจ 1.3 ทำให้เกิดการสร้างองค์ความรู้และเกิดประสบการณ์ 1.4 เป็นการยกระดับหรือพัฒนาวิชาชีพต่างๆให้มีมาตรฐานสูงขึ้น
2 ประเภทของรายงานผลการวิจัย 2.1 จำแนกตามลักษณะของรายงาน 1 รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ 2 รายงานการวิจัยฉบับย่อ 2.2 จำแนกตามบุคคลที่ใช้ประโยชน์ 1 รายงานที่เสนอต่อผู้บริหาร 2 รายงานที่เสนอต่อผู้ปฏิบัติงาน 3 รายงานที่เสนอต่อสาธารณชน
3 หลักการเขียนรายงานผลการวิจัย 3.1 ความเป็นระบบและมีรูปแบบ 3.2 ความถูกต้อง 3.3 ความครบถ้วนสมบูรณ์ 3.4 ความเป็นเอกภาพ 3.5 ความสัมพันธ์สอดคล้องเชื่อมโยงต่อเนื่อง 3.6 ความกระจ่างชัด 3.7 ความตรงประเด็น 3.8 ความมีเหตุผล
ส่วนประกอบของรายงานผลการวิจัย
2 ส่วนเนื้อหา ประกอบด้วยส่วนต่างๆที่นิยมแบ่งเป็นบทดังนี้บทที่ 1 บทนำบทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องบทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัยบทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลหรือผลการวิจัยบทที่ 5 สรุปอภิปรายและข้อเสนอแนะ
3 ส่วนอ้างอิงประกอบด้วยบรรณานุกรมภาคผนวกข้อควรคำนึงในการเขียนรายงานผลการวิจัย 1 ความถูกต้องและครบถ้วน 2 ความชัดเจน 3 ความต่อเนื่อง 4 ความสำคัญ 5 ความเป็นจริง 6 การอ้างอิง
1 ส่วนนำประกอบด้วยปกในหน้าอนุมัติวงเล็บถ้ามีบทคัดย่อคำนิยามหรือกิตติกรรมประกาศหรือประกาศคุณูปการสารบัญสารบัญตารางสารบัญภาพ
13.2.1 ขั้นเตรียมการวิจัย
การกำหนดโจทย์ ได้แก่ 1 แหล่งที่มาของโจทย์การวิจัย 2 แนวทางในการกำหนดโจทย์การวิจัย 3 การกำหนดหัวข้อการวิจัยชื่อเรื่องการวิจัยและประเด็นสำหรับการวิจัย
การกำหนดวัตถุประสงค์มีประโยชน์คือ 1 ทำให้ผู้วิจัยเกิดความชัดเจนว่าต้องการศึกษาอะไรบ้าง 2 ทำให้ผู้วิจัยทราบว่าจะต้องเก็บข้อมูลที่สำคัญในเรื่องอะไรบ้าง 3 ทำให้ผู้อ่านรายงานผลการวิจัยสามารถติดตามและประเมินผลของการวิจัยได้
3 การออกแบบการวิจัย 1 กำหนดตัวแปรและสมมติฐาน 1.1 ตัวแปรหมายถึงคุณสมบัติหรือคุณลักษณะของสิ่งต่างๆที่ต้องการศึกษา ตัวแปรอิสระตัวแปรตาม 1.2 สมมุติฐานเป็นข้อความที่คาดคะเนคำตอบของการวิจัยที่จะศึกษาสมมติฐานมี 2 ชนิด 1 สมมติฐานการวิจัยสมมติฐานทางสถิติ 2 การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2.1 ประชากรในการวิจัย 2.2 กลุ่มตัวอย่าง 2.3 การสุ่มตัวอย่าง 2.4 การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง 3 การกำหนดเครื่องมือการวิจัย 4 การกำหนดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 4.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร 4.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม 5 การกำหนดวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
การจัดทำโครงการวิจัย 1 ชื่อเรื่องที่จะวิจัย 2 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 3 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 5 การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 6 สมมติฐานการวิจัย 7 ขอบเขตการวิจัย 8 นิยามศัพท์ 9 ระเบียบวิธีวิจัยระยะเวลาดำเนินการวิจัย 11 แผนการดำเนินการ 12 สถานที่ทำการวิจัย 13 ทรัพยากรและงบประมาณที่ต้องการ 14 ประวัติคณะวิจัย
13.3 การเผยแพร่และนำผลงานวิจัยไปใช้
13.3.1 การเผยแพร่ผลงานวิจัย
การประเมินคุณภาพงานวิจัย
จุดมุ่งหมาย
2 เพื่อการสรุปผล
3 เพื่อการคัดเลือก
3.2 การนำผลการวิจัยไปตีพิมพ์ในวารสาร
3.1 การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
1 เพื่อการวินิจฉัย
การเผยแพร่ผลงานวิจัย
1 ในรูปบทความด้วยการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
1.1 การเขียนบทความวิจัย 1 เชิงสรุปรายงานวิจัย 2 วิจัยเชิงวิเคราะห์หรือบทความปริทัศน์
1.2 ขั้นตอนการเผยแพร่ผลงานวิจัยในรูปบทความด้วยการตีพิมพ์ นักวิจัยต้องมีการเตรียมการและดำเนินงานตามขั้นตอนโดยสรุปดังนี้
4 เขียนบทความวิจัยตามหัวข้อและความยาวที่วางแผนไว้
5 มีผู้ทรงคุณวุฒิในการอ่านและตรวจแก้ไขหรือตรวจสอบบทความ
3 จัดเตรียมบทความต้นฉบับเพื่อจะตีพิมพ์เผยแพร่
6 มีการตรวจค้นเอกสารอ้างอิงจากแหล่งต่างๆ
2 ศึกษารูปแบบวิธีการและขั้นตอนการเขียนรายงาน
7 ส่งบทความตีพิมพ์เผยแพร่
1 วางแผนเตรียมการเรื่องการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารไว้ล่วงหน้า
8 ศึกษาวิเคราะห์ข้อบกพร่องและข้อผิดพลาด
9 ส่งต้นฉบับบทความกลับไปที่บรรณาธิการเพื่อการตีพิมพ์ใหม่
10 การเป็นพี่เลี้ยงให้กับนักวิจัยอื่น
2 การเผยแพร่ผลงานวิจัยด้วยการนำเสนอในที่ประชุมวิชาการ
2.1 การนำเสนอ ผลงานวิจัยด้วยวาจา
2.2 การนำเสนอผลงานวิจัยด้วยโปสเตอร์
13.3.2 การนำผลงานวิจัยไปใช้
กระบวนการกำหนดนโยบาย 1 การกำหนดปัญหาและความต้องการขององค์กรองค์การ 2 การจัดทำเค้าโครงนโยบายเบื้องต้นและการพัฒนานโยบาย 3 การนำนโยบายไปปฏิบัติ 4 การประเมินผลนโยบาย
การนำเอาผลงานวิจัยไปใช้ประกอบการพิจารณาย่อมก่อให้เกิดประโยชน์มากขึ้น 1 การนำผลงานวิจัยไปใช้ในการกำหนดนโยบายหลัก 2 การนำผลงานวิจัยไปใช้กำหนดนโยบายการบริหาร 3 การนำผลงานวิจัยไปใช้ในการกำหนดนโยบายเฉพาะกิจ
ข้อควรคำนึงในการนำผลงานวิจัยไปใช้ในการกำหนดนโยบาย
1 คำนึงถึงเหตุผลและความเป็นไปได้ในการนำผลงานวิจัยไปใช้
2 ผลงานวิจัยที่ได้นำมาใช้จะต้องเป็นงานวิจัยที่ได้ดำเนินถูกต้องตามกระบวนการวิจัยและอยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง
1 การนำผลงานวิจัยไปใช้ในกระบวนการวางแผน
2 การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
3 การกำหนดโครงการและแผนงาน
1 การวิเคราะห์สภาพพื้นที่
4 การปฏิบัติตามแผน
5 การติดตามและประเมินผล
2 การนำผลงานวิจัยไปใช้ในการนำแผนไปปฏิบัติ แผนในองค์การแบ่งเป็น 2 ระดับ
แผนกลยุทธ์
แผนปฏิบัติการ
การนำผลงานวิจัยไปใช้
1 การพัฒนางาน
2 พัฒนานักส่งเสริมและองค์กร
3 พัฒนาเกษตรกรและชุมชน