Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory system) - Coggle Diagram
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory system)
หลอดเลือด(vessels)
หลอดเลือดดํา(Veiny)
หลอดเลือดดำบริเวณต่างๆของร่างกายมี 3 ชนิด
Superficial vein ที่สำคัญได้แก่ small และ great saphenous vein
Deep vein เช่น femoral vein
Venous sinus เป็นหลอดเลือดดำที่พบในกะโหลกศีรษะ
Dural sinus
รับเลือดดำจากสมองแล้วเข้าสู่ internal jugular vein
หลอดเลือดดำชั้นลึกของรยางค์บน
Subclavian vein
Brachial veins
Axillary vein
Ulnar vein
Radial vein
หลอดเลือดดำชั้นตื้นของรยางค์บน
Cephalic vein
Basilic vein
Median antebrachial vein
Brachiocephalic vein
เป็นการรวมกันของ internal jugular vein และ subclavian vein ไปสิ้นสุดที่ superior vena cava
หลอดเลือดดำบริเวณอก (Vein of the thorax)
Accessory
hemiazygos vein
Azygos vein
Hemiazygos vein
Superior vena cava (SVC)
รับเลือดดำจากส่วนบนของร่างกายจนถึงกะบังลมไปเทเข้าที่ right atrium
เป็นการรวมกันของ Rt. และ Lt. brachiocephalic v. (เกิดจาก internal jugular vein และ subclavian vein) ส่งเลือดเข้าสู่ SVC
มีแขนงคือ Azygos vein Small pericardial veins Mediastinal vein
หลอดเลือดดำของขา
Left common lac vein
Femoral vein
Popliteal segment of femoral vein
Inferior vena cava (IVC)
จุดเริ่มต้นที่ L5-18
เป็นการรวมกันของ Lt. + Rt. common iliac vein
รับเลือดจากส่วนล่างของร่างกาย ทอดขึ้นไปทางด้านขวา ของ abdominal aorta เข้าสู่ช่องอก
สิ้นสุดที่ right atrium
Portal venous system
รับเลือดคำจากอวัยวะในระบบทางเดินอาหาร แล้วส่งเข้าสู่ตับ
หลอดเลือดฝอย(Capillary)
หลอดเลือดแดง(Artery)
หลอดเลือดแดงของร่างกาย (Principal artery of the body)
หลอดเลือดแดงของอกและท้อง (Arteries of Thorax and abdomen)
Aorta เป็นหลอดเลือดแดงที่ใหญ่ที่สุด
ของร่างกายที่ออกจากหัวใจห้องล่างซ้าย
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
1.2 Arch of aorta หรือ Aortic arch
-ตรงกับกระดูกสันหลังระดับอกที่ 4
-แขนงแยกเป็น 3 แขนง
Brachiocephalic artery
Right common carotid artery
Right subelavian artery
Left common carotid artery
Left subclavian artery
1.3 Descending aorta จากระดับ T4-14 แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
อยู่ในช่องอกเรียก Thoracic aorta
อยู่ในช่องท้องเรียก Abdominal aorta
Thoracic aorta
เริ่มจาก 14 จนถึงรูเปิดที่กะบังลม (T12-L.1)
Visceral branch เป็นแขนงที่ส่งไปเลี้ยงอวัยวะภายในอก
Pericardial artery
Bronchial artery
Esophageal artery
Mediastinal artery
Parietal branch ส่งไปเลี้ยงผนังทรวงอก
Posterior intercostal artery
Superior phrenic artery
Abdominal aorta
ตั้งต้นจากรูเปิด (Aortic opening) ที่กะบังลมทอดลงไปจนถึง L4 แล้วแตกปลายออกเป็นright และ Left Common iliac artery
Interior phrenic artery
Celiac trunk
Middle suprarenal artery
Lumbar artery
Superior mesenteric artery
Renal artery
Gonadal (Teasticular or oVarian) artery
Inferior mesenteric artery
Middle sacral artery
Common iliac artery
1.1 Ascending aorta แตกแขนงเป็น
Right coronary artery
Left coronary artery Ascending aorta
หลอดเลือดแดงของรยางค์บน (Arteries of the upper limb)
Vertebral artery
เป็นแขนงมาจาก Subclavian artery
เมื่อเข้าสู่กะโหลกศีรษะ ทั้งสองข้างจะรวมกันเป็น Basilar artery ให้แขนงไปเลี้ยงcerebellum, pons และหูส่วนใน
Basilar aให้แขนงเป็น Posterior cerebral artery 1 กู่ (เลี้ยง งccipital และ temporal)
Axillary artery
ต่อจาก Subelavian artery ผ่านขอบล่างของกระดูกซี่โครงที่ 1 เข้าสู่รักแร้ เปลี่ยนชื่อเป็น Axilary artery แตกแขนงเลี้ยงโครงสร้างภายในรักแร้ บริเวณส่วนบนของอกและไหล่
Subclavian artery
ข้างซ้ายแตกแขนงมาจาก arch of aorta
ข้างขวาแตกแขนงจาก brachiocephalic artery
Brachial artery เป็นแขนงต่อจาก Axillary artery
เริ่มต้นที่ขอบล่างของกล้ามเนื้อ teres minor
ให้และที่ข้อศอกแตกออกเป็น 2 แขนงใหญ่คือ
Ulnar artery
Radial artery
หลอดเลือดแดงบริเวณคอและศีรษะ (Artery of the Neck and head) ประกอบด้วยเส้นเลือดแดงใหญ่ Common carotid artery 1 คู่ แตก
แขนงได้ 2 แขนงใหญ่ คือ
External carotid artery
Posterior auricular artery
Occipital artery
Maxillary artery
Superficial temporal artery
Facial artery
Lingual artery
Superior thyroid artery
Internal carotid artery เลี้ยงเข้าตาและเกือบทั้งหมดของเปลือกสมองใหญ่
หลอดเลือดแดงของเชิงกราน และรยางค์ล่าง (Arteries of pelvic and lower limb)
Common iliac artery
แยกออกจาก abdominal aorta ที่ระดับ
L4 แล้วทอดไปยัง sacroiliac joint เป็น
1.Internal iliac artery
External iliac artery
หัวใจ (heart)
ผนังหัวใจ (Heart wall) ประกอบด้วย 3 ชั้น คือ
ชั้นนอกสุด (Epicardium) ชั้นกลาง (Myocardium)
ชั้นในสุด (Endocardium)
ห้องหัวใจ (Chamber of the heart) ภายในหัวใจมี 4 ห้อง
ห้องบน เรียกว่า atria (atrium) 2 ห้อง
หัวใจห้องบนขวา Right atrium (RA)
รับเลือดดำจากหลอดเลือดดำใหญ่ 2 เส้น คือ
Superior vena cava (SVC)
Inferior vena cava (IVC)
และเส้นเลือดดำที่รับจากกล้ามเนื้อหัวใจ
คือ Coronary sinus
หัวใจห้องบนซ้าย Left atrium (LA)
รับเลือดจาก Pulmonary
veins 4 เส้น
มีลิ้นหัวใจชื่อ Bicuspid
หรือ Mitral
ห้องล่าง เรียกว่า ventricle 2 ห้อง
หัวใจห้องล่างขวา Right ventricle (RV) รับเลือดจากหัวใจห้องบนขวา
ผ่านลงสู่ล่างขวาโดยผ่านลิ้นเรียก
Tricuspid valve
จากนั้นเลือดถูกบีบเข้าสู่
pulmonary trunk เพื่อส่งเข้าสู่ปอด
ผ่านลิ้น pulmonary semilunar valve
จากนั้นเลือดเข้าสู่ pulmonary a.
หัวใจห้องล่างซ้าย Left ventricle (LV)
มีผนังหนาสุด
รับเลือดจากหัวใจห้องบนซ้าย
มีหลอดเลือดแดง aorta ต่อ
ออกไป โดยมี Aortic
semilunar valve กั้นอยู่
เยื่อหุ้มหัวใจ (Pericardium)
Fibrous pericardium
Serous pericardium
ลิ้นหัวใจ (Heart Valves)
2.) Semilunar valves
(1) Aortic semilunar valve (Aortic Valve) กั้น
ระหว่าง aorta กับ Left ventricle
(2) Pulmonary semilunar valve (Pulmonic
Valve กั้น pulmonary trunk กับ Right ventricle
1.) Cuspid valves หรือ Atrioventricular valves
กั้นระหว่าง atrium กับ ventricle
(1) Tricuspid (Right)
(2) Bicuspid or mitral (Left)
ขนาดและตำแหน่งของหัวใจ
วางตัวอยู่ในช่องอก อยู่ระหว่างปอดทั้ง 2 ข้าง (เรียก Mediastinum)
มียอดแหลมด้านล่างเรียก Apex ชี้ไปทางด้านซ้าย (ระดับ intercostal space 5-6)
มีฐานเรียก base อยู่ทางด้านบน
The fossa ovalis
Fossa ovalis คือช่องว่างในหัวใจระหว่าง
ห้อง RA และ LA จะเกิดในวัยที่อยู่ใน
ครรภ์มารดาก่อนคลอด
เมื่อโตขึ้นช่องว่างนี้จะสร้างผนังขึ้นเพื่อ
แบ่งแยกหัวใจของสองห้องออกจากกัน
และเพื่อป้องกันเลือดแดงและเลือดดำ
ปะปนกัน
หากช่องว่างนี้ไม่สร้างผนังขึ้นจะทำให้
ผนังห้องหัวใจไม่สมบูรณ์ถือว่าเป็น
ความผิดปกติ
เลือดที่มาเลี้ยงหัวใจ
(The Blood Supply to the Heart)
Coronary artery ให้แขนง
Right Coronary Artery (RCA) ให้แขนง
Right marginal branch
Posterior interventricular artery
Left coronary artery (LCA) ให้แขนง
Circumflex artery ให้แขนง
Left marginal branch
Anterior interventricular artery
การควบคุมการทำงานของระบบไหลเวียนเลือด(Cardiovascular control)
ตัวรับรู้การเปลี่ยนแปลงในระบบไหลเวียนเลือด
ตัวรับรู้ที่แคโรติสไซนัส (carotid sinus)
ตัวรับรู้เอออร์ติกอาค (aortic arch)
อวัยวะแสดงผล ซึ่งได้แก่ หัวใจและหลอดเลือด
ศูนย์ควบคุมระบบไหลเวียนเลือด
ศูนย์ควบคุมใน medulla oblongata
-ศูนย์ที่ทำให้หลอดเลือดหดตัว (Vasoconstrictor center)
-ศูนย์ลดการหดตัวของหลอดเลือด (Vasodilator center)
ศูนย์ควบคุมใน hypothala mus
-การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียนเลือดที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงอารมณ์
ศูนย์ควบคุมใน cerebral cortex
-มีหลายบริเวณใน cerebral cortex ที่สามารถส่งคลื่นประสาทไปกระตุ้นหรือยับยั้ง
การทำงานของ vasomotor center โดยมีผลต่อระบบประสาn sympathetic
เลือด(blood)
เม็ดเลือด (Blood cells)
เม็ดเลือดแดง (Red blood cells)
มีขนาดประมาณ 7 ไมโครเมตร ถูกสร้างที่ไขกระดูก
อายุการทำงานในกระแสโลหิต ประมาณ 90-120 วัน
ทำหน้าที่ขนส่งออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซค์
ภายในเม็ดเลือดแดงมีสารชื่อ ฮีโมโกลบิล (hemoglobin)
การสร้างเม็ดเลือดแดง
(Erytropoiesis)
Embryo : yolk sac ม้าม
Mid-trimester : liver, spleen
Last month of gestation & after birth: red bone narrow (Flat bone)
การทำลายเซลล์เม็ดเลือดแดง (Red cell destruction)
RBC destruction : hemoglobin (heme+globin) ----> phagocytosis by macrophages in liver, spleen & bone marrow
เม็ดเลือดขาว
(White blood cells)
มีหน้าที่ป้องกันการรุกรานของแบคที่เรียและเชื้อโรคหรือสารแปลกปลอมต่างๆ
2.) เม็ดเลือดขาวชนิด Agranulocytes
2.1 Lymphocytes
มีนิวเคลียสใหญ่เกือบเต็มเซลล์
มีประมาณ 30% ของเซลล์เม็ดเลือดขาวทั้งหมด แบ่งเป็น B-cell เจริญที่ไขกระดูก
และ T-cel พัฒนาที่ต่อมไทมัส
มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
2.2 Monocytes
มีประมาณ 3-8% เป็นเม็ดเลือดขาวที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
มีนิวเคลียสรูปคล้ายไต
เมื่อแทรกออกจากหลอดเลือดสู่เนื้อเยื่อต่างๆ จะเจริญ เป็น แมโครฟาจ(macrophage) ทำลายเชื้อโรค โดยวิธีฟาโกไซโทชิส
มีหน้าที่เก็บกินสิ่งแปลกปลอมต่างๆ
1) เม็ดเลือดขาวชนิด Granulocytes
1.2 Eosinophils
มีประมาณ 1-3 % ของเซลล์เม็ดเลือดขาวทั้งหมด
เลือดขาวทั้งหมด
มีนิวเคลียส 2 พู
มีหน้าที่ในการทำลายสารพิษของ histamine ที่ถูกสร้างจาก mast cells ในขณะที่
เนื้อเยื่อมีการถูกทำงาน
เพิ่มจำนวนเมื่อมีการแพ้หรือติดเชื้อพยาธิ
1.3 Basophils
มีประมาณ 1 % ของเซลล์เม็ดเลือดขาวทั้งหมด
สร้าง histamineทำให้เกิดการแพ้หรืออักเสบ
สร้างสาร heparin ช่วยการการแข็งตัวของเลือด
1.1 Neutrophils
เป็นเม็ดเลือดขาวที่พบมากที่สุดในจำนวนเม็ดเลือดขาวทั้งหมด
นิวเคลียสหลายพู
มีหน้าที่ในการทำลายเชื้อแบคที่เรีย มักพบในการอักเลยแบบเฉียบพลันของเนื้อเยื่อ
ทำลายสิ่งแปลกปลอมโดยการจับกินแบบฟาโกไซโทซิส
คุณสมบัติที่สำคัญของเม็ดเลือดขาว 3 ประการ
Diapedesis : สามารถเคลื่อนที่ผ่านผนังหลอดเลือดฝอย ไปยังเนื้อเยื่อได้
Chemotaxis : สามารถเคลื่อนที่เข้าหาสารเคมีที่ปล่อยจากเนื้อเยื่อที่ถูกทำลายได้
Phagocytosis : สามารถเก็บกินสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาสู่ร่างกายได้
พลาสมาหรือน้ำเลือด (Plasma)
อัลบูมิน (albumin)
เป็นโปรตีนสร้างจากเซลล์ตับ
ถ้าความเข้มข้นลด เกิด อาการบวมน้ำ
ทำหน้าที่เป็นตัวพา ของสารต่างๆที่อยู่ในเลือดรวมถึงยา
โกลบูลิน (globulin)
ทำหน้าที่ในการขนส่งไขมันและวิตามิน
เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกันของร่างกายถูกหลั่งมาจากเม็ดเลือดขาวชนิด lymphocyte
ทำหน้าที่ในระบบภูมิคุ้มกัน
มีประมาณ รร% ของปริมาณเลือดทั้งหมด ประกอบไปด้วยน้ำประมาณ 91% สารโปรตีน 7%มีลักษณะใส ไม่มีเซลล์
คือส่วนของเลือดที่ได้หลังจากการแยกเอาเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือดออก
ทำหน้าที่ช่วยขนส่งโมเลกุลต่างๆ เช่น ไขมันหรือ โปรตีนและฮอร์โมน บางชนิด
ไฟบริโนเจน (fibrinogen) และโปรทรอมบิน (prothrombin)
เป็นปัจจัยทำให้เลือดแข็งตัว (clotting factor)
เกล็ดเลือด (Blood Platelet, Thrombocyte)
เกล็ดเลือดเป็นส่วนของ cytoplasm ของ megakaryocytes ไม่มีนิวเคลียส
1 ลบ.มม มีเซลล์เกล็ดเลือดประมาณ 140,000-400,000 เซลล์
มีหน้าที่ทำให้เลือดหยุดไหลหรือห้ามเลือด