Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 12 จิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 12 จิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1.แนวคิดและทฤษฎี
1.1 ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์
1.1 จิตวิทยาหมายถึงการศึกษาเชิงวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับพฤติกรรมและกระบวนการทางจิต โดยพฤติกรรมเป็นการกระทำและการตอบสนองที่สามารถวัดและสังเกตได้โดยตรง สามารถมองจิตวิทยาได้ 3 มิติ
1.2 มิติทางด้านปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหนึ่งจุด
1.3 มิติทางด้านกระบวนการกลุ่ม
1.1 มิติทางด้านปัจเจกบุคคล
2 ความสำคัญของจิตวิทยา
2.2 ช่วยทำให้รู้จักเข้าใจและยอมรับในตัวผู้อื่นมากขึ้น
2.3 ช่วยให้คนในสังคมแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมตามแนวทางของกฎเกณฑ์ทางสังคม
2.1 ช่วยทำให้บุคคลรู้จักเข้าใจและเกิดการยอมรับในตนเองมากขึ้น
3 ประโยชน์ของจิตวิทยา
3.1 ประโยชน์ที่มีต่อตนเอง
2 ช่วยพัฒนาศักยภาพและเสริมบุคลิกภาพของคนในสังคม
1 การเรียนรู้จิตวิทยาทำให้บุคคลดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสงบสุข
3.2 ประโยชน์ต่อสังคม
2 เกิดการผนึกกำลัง สร้างสรรค์จรรโลงให้กลุ่มของคนพัฒนายิ่งขึ้น
3 ช่วยให้บุคคลสามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคมได้อย่างเหมาะสม
1 ทำให้บุคคลเข้าใจพฤติกรรมของกันและกันได้ดียิ่งขึ้น ลดความขัดแย้งในสังคม
4 ช่วยลดความตึงเครียดของสังคม
3.3 ประโยชน์ด้านอื่นๆประกอบด้วย
1 ก่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการ
2 ช่วยให้สามารถวิจัยสภาพสังคมได้
3 ช่วยในการบริหาร
4 ช่วยในการพัฒนาประเทศชาติอย่างมีประสิทธิภาพ
ความรู้เกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1 ความหมายของมนุษยสัมพันธ์
1.1 ความหมายตามศัพท์ มนุษย์ หมายถึงเกี่ยวกับมนุษย์เกี่ยวกับคนความเป็นมนุษย์สัมพันธ์หมายถึงการติดต่อความเกี่ยวข้องกัน
1.2 ความหมายทั่วไปหมายถึงการเข้ากับคนอื่นได้การติดต่อสัมพันธ์กันระหว่างบุคคล
1.3 ความหมายในศาสตร์ต่างๆ
2 ศาสตร์สังคมวิทยาคือการมีพฤติกรรมโต้ตอบกันระหว่างมนุษย์ในสังคมเดียวกัน
3 ทางการเรียนรู้ในลักษณะสาขาวิชามนุษยสัมพันธ์คือวิชาที่ว่าด้วยกระบวนการจูงใจคนอย่างมีประสิทธิภาพให้เข้ากับคนและครองใจคน
1 ศาสตร์ทางจิตวิทยาคือการแสดงพฤติกรรมต่อการในระบบสังคม
4 สร้างความพอใจในงานหมายถึงวิชาที่ว่าด้วยศาสตร์และศิลป์ในการสร้างเสริมความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเพื่อให้ได้มาซึ่งความรักใคร่นับถือจงรักภักดีและความร่วมมือตลอดจนการร่วมกับคนอื่นอย่างมีความสุข
1.4 ความหมายที่ใช้ในองค์การหมายถึงศาสตร์และศิลป์ แห่งการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์การเพื่อให้ได้มาซึ่งความรักนับถือจงรักภักดี สรุปมนุษยสัมพันธ์หมายถึงการติดต่อเกี่ยวข้องกันระหว่างบุคคลเพื่อให้เกิดความรู้สึกที่ดีต่อการเกิดความร่วมมือร่วมใจกันในการทำกิจกรรมให้บรรลุเป้าหมายและดำเนินชีวิตร่วมกันอย่างมีความสุข
ความสําคัญของมนุษยสัมพันธ์
2.3 การดำเนินชีวิตในองค์การ
2.4 เศรษฐกิจ
2.2 การดำเนินชีวิตและการดำรงอยู่ของชีวิตทางสังคม
2.5 การเมืองการปกครอง
2.1 การดำเนินชีวิตครอบครัว
2.6 การเรียนรู้
3 ประโยชน์ของมนุษยสัมพันธ์
3.3 ก่อให้เกิดการร่วมมือร่วมแรงร่วมใจ
3.4 ช่วยให้เกิดความราบรื่นในการคบหาสมาคมกับผู้อื่น
3.2 ช่วยให้เข้าใจความต้องการของคนอื่น
3.5 กระตุ้นให้บุคคลมีจิตใจดีมีเมตตากรุณาต่อบุคคลอื่น
3.1 ช่วยให้เข้าใจธรรมชาติและพฤติกรรมของคน
3.6 ช่วยลดความขัดแย้ง
3.7 ช่วยให้ชีวิตมีความสุข
3.8 ทำให้เกิดความสามัคคีและความพร้อมเพียงในหมู่คณะ
3.9 ช่วยให้เกิดขวัญกำลังใจในการทำงาน
3.10 ช่วยในการพัฒนาประเทศเจริญก้าวหน้า
1.2 จิตวิทยาเกี่ยวกับการรับรู้และการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดของจิตวิทยา
1 ความหมายของการรับรู้ (perception) หมายถึงกระบวนการประมวลตีความและแปลความหมายของข้อมูล จากการสัมผัสไปยังสมองเพื่อการแปลความทำให้เกิดการได้รู้ได้เข้าใจ
2 องค์ประกอบการรับรู้
2.3 ประสบการณ์หรือความรู้เดิมที่เกี่ยวข้องกับสิ่งเร้า
2.4 การแปลความหมายของสิ่งที่สัมผัส
2.2 ประสาทสัมผัส
2.1 สิ่งเร้าหรือสถานการณ์
1 สิ่งเร้าภายใน
2 สิ่งเร้าภายนอก
3 กระบวนการรับรู้
ขั้นที่ 2 กระแสประสาทสัมผัสวิ่งไปยังระบบประสาทส่วนกลาง
ขั้นที่ 3 สมองแปลความหมาย เมื่อประสาทตื่นตัวโดยสิ่งเร้าจะเกิดมีปฏิกิริยาคือการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ขั้นที่ 1 สิ่งเร้ามากระทบประสาทสัมผัสของบุคคล
4 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้
4.2 ผู้รับรู้
4.3 สภาพแวดล้อมหรือสถานการณ์ที่รับรู้
4.1 สิ่งเร้า
แนวคิดและทฤษฎีจิตวิทยา
1 ความหมายของการเรียนรู้หมายถึงกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวรและพฤติกรรมใหม่นี้เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการฝึกฝนมิใช่เป็นผลจากการตอบสนองโดยธรรมชาติหรือสัญชาตญาณหรือวุฒิภาวะหรือพิทยาต่างๆหรืออุบัติเหตุหรือความบังเอิญ
2 ลักษณะที่สำคัญเกี่ยวกับการเรียนรู้ มี 5 ประการหนึ่งการเรียนรู้เป็นกระบวนการ 2 การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทุกชนิด 3 เป็นสิ่งที่ช่วยในการปรับปรุงตนเอง 4 เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ 5 ไม่ใช่วุฒิภาวะเพียงแต่อาศัยวุฒิภาวะเป็นตัวประกอบ
3 องค์ประกอบการเรียนรู้ 1 แรงขับ 2 สิ่งเร้า 3 การตอบสนอง 4 การเสริมแรง
4 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำคัญ
4.1 กลุ่มพฤติกรรมนิยม
2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
1 ทฤษฎีการเชื่อมโยง
3 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
4.2 กลุ่มปัญญานิยมหรือพุทธินิยม
1 ทฤษฎีของกลุ่ม Gestalt
2 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
3 ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยการค้นพบของบรุนเนอร์
4 ทฤษฎีการเรียนรู้ 8 ขั้นของกาเย่
5 ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ
4.3 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญาสังคมหรือสังคมเชิงพุทธิปัญญา
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา
4.4 กลุ่มมนุษยนิยม
3 แนวคิดการเรียนรู้ของโคมส์
4 การเรียนรู้นิ้วของโนลส์
2 ทฤษฎีการเรียนรู้ของโรเจอร์
5 การเรียนรู้ของแฟร์
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ของมาสโลว์
4.5 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มสร้างสรรค์ทางปัญญานิยม
1 การสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเองหรือทฤษฎีคอนสตรัคชั่นนิสซึ่ม
5 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้
5.1 ปัจจัยภายใน
5.2 ปัจจัยภายนอก
1.2 จิตวิทยาเกี่ยวกับการรับรู้และการเรียนรู้
1.3 จิตวิทยาที่เกี่ยวกับแรงจูงใจ การสื่อสาร และทัศนคติ
1.3 จิตวิทยาเกี่ยวกับแรงจูงใจการสื่อสารและทัศนคติ
แรงจูงใจและการจูงใจแรงจูงใจหมายถึงแรงผลักดันภายในที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ซึ่งก่อตัวขึ้นจนกลายเป็นแรงกระตุ้นและบังคับให้บุคคลแสดงพฤติกรรมตอบสนองการจูงใจหมายถึงสภาวะภายในของบุคคลที่ถูกกระตุ้นหรือผลักดันโดยแรงจูงใจให้แสดงพฤติกรรมอย่างมีทิศทางและต่อเนื่อง
2 ลักษณะการจูงใจมี 2 ลักษณะ 2.1 แรงจูงใจภายใน 2.2 แรงจูงใจภายนอก
3 ความสำคัญของการจูงใจ
2 ช่วยเพิ่มพลังในการทำงานให้บุคคล
3 ช่วยเพิ่มความพยายามในการทำงานให้บุคคล
1 การศึกษาเรื่องของการจูงใจ
4 ช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการทำงานของบุคคล
5 ช่วยเสริมสร้างคุณค่าของความเป็นคนที่สมบูรณ์ให้บุคคล
4 ทฤษฎีการจูงใจที่สำคัญในการดำเนินงานส่งเสริม
4.2 ทฤษฎีที่เน้นกระบวนการในการจูงใจ
2 ทฤษฎีความเสมอภาคและความเท่าเทียม
3 ทฤษฎีการเสริมแรงของการจูงใจ
1 ทฤษฎีความคาดหวังของบลูม
4.1 ทฤษฎีที่เน้นเนื้อหาของการจูงใจ
4 ทฤษฎี x ทฤษฎี y ของแมคเกรเกอร์
3 ทฤษฎีความต้องการของแม็คโคร
2 ทฤษฎีสองปัจจัยของเฮอร์ซเบอร์ก
1 ทฤษฎีลำดับขั้นตอนขั้นความต้องการของมาสโลว์
แนวคิดและทฤษฎีจิตวิทยาที่เกี่ยวกับการสื่อสาร
1 ความหมายของการสื่อสารหมายถึงกระบวนการซึ่งคนเรามีปฏิกิริยาต่อกันและกันเพื่อความมุ่งหมายที่จะให้เกิดการผสมกลมกลืนกันทั้งในระหว่างบุคคลและภายในตัวบุคคล
ความสำคัญของการสื่อสาร
หนึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิต 2 ก่อให้เกิดความเข้าใจกันระหว่างบุคคล 3 เป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาความเจริญก้าวหน้า
3 องค์ประกอบที่สำคัญของการสื่อสาร smcr
4 รูปแบบและทฤษฎีการสื่อสารที่สำคัญ
4.1 รูปแบบจำลองอยู่ที่การสื่อสาร smcr ของเบอร์โล
4.2 รูปแบบจำลองหรือทฤษฎีการสื่อสารทางเดียวเชิงเส้นตรงของแชนแนลและวีเวอร์
4.3 แนวคิดและทฤษฎีจิตวิทยาที่เกี่ยวกับทัศนคติ
ทัศนคติหมายถึงผลจาก การผสมผสานระหว่างความนึกคิดความเชื่อความคิดเห็นความรู้และความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใด
2 องค์ประกอบของทัศนคติ 2.1 องค์ประกอบทางด้านความรู้ 2.2 ทางด้านความรู้สึก 2.3 ทางด้านพฤติกรรม
3 ปัจจัยที่ก่อให้เกิดทัศนคติ
4 การทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ
5 ทฤษฎีเกี่ยวกับทัศนคติ
1 ทษฎีการวางเงื่อนไขและการให้แรงเสริม
2 ทฤษฎีสิ่งล่อใจ
3 ทฤษฎีความสอดคล้องกันในการรับรู้
1 ชุดมีความสมดุล
2 ทฤษฎีความสอดคล้องกัน
5.4 ทฤษฎีความขัดแย้งทางความคิด
5.5 ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติโดยการปรับตัวให้เข้ากับสังคม
5.6 ทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม
1.4 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับมนุษยสัมพันธ์
1.4 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับมนุษยสัมพันธ์
กลุ่มทฤษฎีแรงจูงใจ
1 ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
2 ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
3 ทฤษฎีพุทธินิยม
4 ทฤษฎีมนุษยนิยม
5 ทฤษฎีความคาดหวัง
6 ทฤษฎีความเป็นธรรม
ทฤษฎีความต้องการของมนุษย์ของอับราฮัมมาสโลว์ จากต่ำไปสูง
3 สังคม
4 การได้รับการยกย่องสรรเสริญในสังคม
2 ความมั่นคงปลอดภัย
5 ความสำเร็จสมหวังในชีวิต
1 กายภาพ
ทฤษฎีสองปัจจัยของเฮอร์ซเบอร์ก
1 ปัจจัยอนามัย
2 ปัจจัยจูงใจ
2.การประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์
2.1 การประยุกต์หลักจิตวิทยา
2.1 จิตวิทยากับงานส่งเสริม มีพื้นฐานในความเชื่อพื้นฐาน
1 นวัตกรรมหรือแนวคิดใหม่ที่นำมาส่งเสริมนั้นจะทำให้กลุ่มเป้าหมายมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
2 และความแตกต่างของคนสามารถนำมาพัฒนาให้มีความรู้ใกล้เคียงกันได้โดยใช้เทคนิคและวิธีการส่งเสริมที่แตกต่างกัน
3 การเรียนรู้เป็นพื้นฐานการนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงของสังคม
เป้าหมายในการใช้จิตวิทยา
1 เพื่อส่งเสริมบรรยากาศที่ดีระหว่างนักส่งเสริมและตัวเกษตรกร
2 เพื่อเป็นกำลังใจให้เกษตรกรแสดงความรู้เพิ่มมากขึ้น
3 เพื่อแสดงความพึงพอใจในตัวเกษตรกร
4 เพื่อให้การชมเชยแก่เกษตรกร
หลักการใช้จิตวิทยาในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
2 ให้ความสำคัญกับประสบการณ์ของเกษตรกร
3 คำนึงถึงความพร้อมที่จะเรียนรู้
1 เข้าใจการเปลี่ยนแปลงอัตมโนทัศน์
4 ตระหนักถึงความมุ่งหมายของการเรียนรู้ของเกษตรกร
5 เข้าใจในหลักการทำงานกับเกษตรกรเป็นรายบุคคล
6 เข้าใจในหลักการทำงานกับเกษตรกรเป็นรายกลุ่ม
7 เข้าใจในหลักการทำงานกับเกษตรกรแบบมวลชน
2.2 การประยุกต์จิตวิทยาที่เกี่ยวกับการรับรู้และการเรียนรู้
1 การส่งเสริมให้เกษตรกรรวมกลุ่มโดยคำนึงถึงกฎการรับรู้ของกลุ่มแก๊สตัน
2 การสร้างความประทับใจระหว่างบุคคลตั้งแต่แรกที่พบกัน
3 การผลิตและใช้สื่อโดยคำนึงถึงคุณลักษณะของสิ่งเร้า
4 การดำเนินงานส่งเสริมการเกษตรโดยคำนึงถึงบุคคลเป้าหมาย
5 การสนับสนุนการตัดสินใจ
การประยุกต์จิตวิทยาที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ไปใช้
2 ความแตกต่างระหว่างบุคคลและวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน
3 การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน
1 ความพร้อมในการเรียนรู้ของผู้เรียน
4 การกำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ให้ชัดเจน
5 การจัดระบบเนื้อหาสาระและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับผู้เรียน
6 การกระทำและการรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสหลายทาง
7 การถ่ายโอนการเรียนรู้
2.3 การประยุกต์จิตวิทยาที่เกี่ยวกับแรงจูงใจ การสื่อสาร และทัศนคติ
การประยุกต์จิตวิทยาที่เกี่ยวกับการจูงใจ
1 ข้อควรคำนึงในการสร้างแรงจูงใจ 1 ความแตกต่างระหว่างบุคคลสองแนวโน้มพฤติกรรม 3 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
2 วิธีการสร้างแรงจูงใจในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร 1 การสร้างแรงจูงใจในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรให้สอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกร 2 การสร้างแรงจูงใจให้สอดคล้องกับสิ่งจูงใจ 3 การสร้างแรงจูงใจให้แก่เกษตรกรให้สอดคล้องกับความคาดหวังของเกษตรกร 4 การสร้างแรงจูงใจให้สอดคล้องกับรูปแบบการเรียนรู้
กระบวนการตัดสินใจนวัตกรรมประกอบด้วย 5 ขั้นตอน 1 ความรู้ 2 การชักชวน 3 การตัดสินใจ 4 การนำไปใช้ 5 การยืนยันการตัดสินใจ
การนำความรู้เรื่องทัศนคติมาปรับใช้
1 การเปลี่ยนทัศนคติต่อตนเอง 1 การเปลี่ยนทัศนคติต่อตนเองของนักส่งเสริม 2 การเปลี่ยนทัศนคติต่อตนเองของเกษตรกร
2 การสร้างและเปลี่ยนทัศนคติที่ดีในการส่งเสริมและพัฒนาเกษตร 1 การสร้างทัศนคติที่ดีของนักส่งเสริม 2 การสร้างทัศนคติที่ดีของเกษตรกร 3 การสร้างทัศนคติที่ดีของเกษตรกรในการยอมรับนวัตกรรม
2.4 การประยุกต์ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับมนุษยสัมพันธ์ไปใช้
การสร้างแรงจูงใจในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1 ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
2 ทฤษฎีความคาดหวัง
3 ทฤษฎีความเป็นธรรม
การตอบสนองความต้องการของเกษตรกร
1 ทฤษฎีความต้องการความสัมฤทธิ์ผลของแมคเคลแลนด์
2 ทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์:
3.การสร้างมนุษยสัมพันธ์
3.1 แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างมนุษยสัมพันธ์
ความสำคัญของการสร้างมนุษยสัมพันธ์
2 ทำให้ได้รับความร่วมมือในการทำงานจากบุคลากรในหน่วยงานต่างๆ
3 ทำให้เกิดการพัฒนางานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1 ช่วยให้นักส่งเสริมสามารถเข้าใจตนเองและผู้อื่น
ประโยชน์ของการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
2 เป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งที่ทำให้เกิดความสำเร็จในการทำงาน
3 เพื่อเชื่อมโยงให้บุคลากรทุกฝ่ายทำงานร่วมกันให้บรรลุผลสำเร็จ
1 ทำให้ผู้มีมนุษยสัมพันธ์ดีสามารถเข้ากับคนอื่นได้ง่าย
4 ทำให้สังคมมีคุณภาพ
ขอบเขตของการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1 การสร้างมนุษยสัมพันธ์ภายในองค์กรองค์การ
2 ภายนอกองค์การ
3.2 การสร้างมนุษยสัมพันธ์
3.2 การสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร 1 การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน 1 ท่านต้นเป็นที่ยอมรับของเพื่อนร่วมงาน 2 สังเกตและปฏิบัติตามกฎกติกาของที่ทำงาน 3 รับผิดชอบงานของตนให้ดี 4 ฝึกตนให้เป็นผู้ที่มีความอดทนต่อพฤติกรรมไม่ดีของเพื่อนร่วมงาน 5 สร้างความก้าวหน้าในการทำงานโดยการรักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน 6 ช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานมือใหม่ 7 การผูกมิตรกับเพื่อนต่างชาติ
2 แนวทางในการสร้างมนุษยสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา
2.1 ผู้บังคับบัญชา
2 สนใจในสิ่งที่มีความสำคัญยิ่งต่อผู้บังคับบัญชา
3 ช่วยทำให้ความปรารถนาของผู้บังคับบัญชาบรรลุผล
1 เข้าใจตัวผู้บังคับบัญชา
4 สร้างลักษณะนิสัยที่พึงปรารถนา
5 ให้ความเคารพยกย่องผู้บังคับบัญชาตามฐานะ
6 สรรเสริญคุณงามความดีของผู้บังคับบัญชาในโอกาสอันควร
7 อย่ารบกวนผู้บังคับบัญชาในเรื่องเล็กๆน้อยๆ
2.2 ผู้ใต้บังคับบัญชา
2 ทำตนเป็นคนน่าคบ
3 พฤศจิกายนเป็นที่ยอมรับของผู้ใต้บังคับบัญชา
1 มีความสามารถในการจัดการงาน
4 เปิดโอกาสให้มีการติดต่อสัมพันธ์
5 ช่วยเหลือผู้ใต้บังคับบัญชา
การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับบุคคลภายนอกองค์การส่งเสริม
1 การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับบุคลากรของหน่วยงานอื่น
1.1 รูปแบบการติดต่อสัมพันธ์ของบุคคลระหว่างองค์กรต่างๆ
1.2 วิธีการสร้างมนุษยสัมพันธ์กับบุคลากรของหน่วยงานอื่น
2 แบบเป็นทางการ
3 ให้ยั่งยืน
1 แบบไม่เป็นทางการ
2 การสร้างมนุษย์สัมพันธ์กับเกษตรกร
2 แบบเป็นทางการ
2 กับกลุ่มเกษตรกร
1 การติดต่อสัมพันธ์เป็นรายบุคคล
3 กับมวลชนเกษตรกร
1 แบบไม่เป็นทางการ
3.3 แนวทางและข้อควรพิจารณาในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
แนวทางการสร้างมนุษยสัมพันธ์ 1 การสนใจในตัวบุคคลอื่น 2 การยิ้มแย้มแจ่มใสอยู่เสมอ 3 การจำชื่อบุคคลต่างๆ 4 การเป็นผู้ฟังที่ดี 5 การพูดในเรื่องที่ผู้ฟังสนใจ 6 การรู้จักยกย่องบุคคลอื่น 7 การรู้จักถ่อมตน 8 การมีความร่วมรู้สึกหรือการเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น 9 การวิจัยยุติธรรม
แนวปฏิบัติต่อผู้อื่นเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีหนึ่งให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อเพื่อนร่วมงานและเกษตรกร 2 มีความคิดเยี่ยมแจ่มใส 3 แสดงการจำได้ 4 เป็นคู่สนทนาที่ดี 5 รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 6 แสดงการยอมรับนับถือผู้อื่นตามสถานภาพอาวุโส 7 แสดงความมีน้ำใจต่อผู้อื่นแต่ความชื่นชมยินดี
ข้อควรพิจารณาในการเสริมสร้างมนุษยสัมพันธ์หนึ่งระหว่างการแสดงสีหน้าท่าทางบุคลิกภาพไม่พึงประสงค์ของการโต้แย้งการโต้เถียงเพื่อเอาชนะ 3 การตำหนิติเตียนผู้อื่นทั้งต่อหน้าและลับหลัง 4 ฟังผู้อื่นการแสดงความอิจฉาริษยาเศษการแสดงความมีอคติใจแค่ 8 ความโมโหฉุนเฉียว 9 การเลือกที่รักมักที่ชัง 10 การไม่รักษาสัจจะ 11 ความชอบจู้จี้จุกจิก 12 แสดงการไม่จริงใจ 13 ความไม่คงเส้นคงวา 14 การโจมตีแรงจูงใจ 15 การคิดแบบถึงอัตรา 16 การคิดแบบถือพวกทางสังคม