Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สตรีตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
สตรีตั้งครรภ์
Preterm
WHO ให้คํานิยาม กํารคลอดก่อนกําหนดว่า หมายถึง การคลอดทํารกก่อนอายุครรภ์ ครบ 37 สัปดาห์ หรือก่อน 259 วัน นับจาก LMP
Extremely preterm – กํารคลอดอายุครรภ์น้อยกว่า 28 สัปดาห์
Early preterm – คลอดอายุครรภ์ น้อยกว่า 32 สัปดาห์
Late preterm – คลอดอายุครรภ์ 34 – 36 สัปดาห์
การวินิจฉัย
ภาวะคลอดก่อนกำหนด
ตรวจพบการหดรัดตัวตรวจพบการหดรัดตัวของมดลูกสม่ำเสมอมากกว่าหกครั้งใน 1 ชั่วโมง
มีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก คือ มีการเปิดของปากมดลูก 2 เซนติเมตรขึ้นไป หรือมีการบางของปากมดลูก
มีอาการปวดทวงบริเวณท้องน้อย ปวดหลัง มีมูกหรือตกขาวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
มีภาวะ threatened preterm labor (แท้งคุกคาม) มีเลือดออกแต่ปากมดลูกไม่เปิด สามารถตั้งครรภ์ได้ต่อ
มีภาวะถุงน้ำข้ามแตกก่อนกำหนด (PPROM) คือการแตกของถุงน้ำคร่ำก่อนเจ็บครรภ์จริงและก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์
การวินิจฉัยภาวะ PPROM
ด้วยการใส่ Speculum พบว่าจะมีน้ำในปากล่างของ Speculum ( น้ำคร่ำที่อนู่บริเวณ posterior fornix ของช่องคลอด)
หากใส่ Speculum แล้วไม่เห็นน้ำคร่ำให้สตรีตั้งครรภ์ไอ 2-3 ครั้งจะพบว่ามีน้ำไหลออกจากปากมดลูก
นำน้ำคร่ำที่ได้ไปตรวจสอบเพื่อยืนยันว่ามีน้ำคร่ำไหลออก
การทดสอบค่า pH ด้วย nitrazine paper test ซึ่งน้ําคร่ำมี pH ประมาณ 7 หรือเป็น ด่างอ่อนๆ ทําให้กระดาษเปลี่ยนเป็นสีน้ําเงิน
Fern test เก็บตัวอย่างน้ําในช่องคลอด ป้ายบนแผ่นกระจกสไลด์ ทิ้งไว้ให้แห้ง แล้วนําไป ส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ น้ําคร่ำ จะเห็นการตกผลึกของ NaCl เป็นรูปใบเฟิร์น
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดPreterm Labor
อายุน้อยกว่า 18 ปีหรือมากกว่า 35 ปี
ฐานะเศรษฐกิจไม่ดี
ครรภ์แรก
ทุพโภชนาการ
สูบบุหรี่หรือใช้สารเสพติด
หักโหม
ภาวะเครียด
มีภาวะแทรกซ้อนอื่น เช่น UTI, Preeclampsia
ครรภ์แฝด แฝดน้ำ
น้ำคร่ำน้อย
สตรีตั้งครรภ์กลุ่มเสี่ยง
ติดเชื้อในระบบสืบพันธ์เช่นหนองใน
พันธุกรรม
มีประวัติการแท้ง
มีประวัติเลือดออกระหว่างตั้งครรภ์
ตั้งครรภ์โดยใช้เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์
มีความผิดปกติของมดลูกและปากมดลูก
มีภาวะน้ำเดิน
ทารกพิการตั้งแต่กำเนิด
สาเหตุ
ติดเชื้อ เช่น UTI
Threatened preterm labor
มีภาวะแทรกซ้อนรุนแรง
มดลูกผิกปกติ
ปากมดลูกผิดปกติ
รกผิดปกติ
กลไกการเกิด Preterm
ติดเชื้อ
กระตุ้น hypothalamic-pituitary-adrenal axis
หลั่ง Cortisol
กระตุ้นรกสร้าง PG, CHR เพิ่มขึ้น
มีอาการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
PG กระตุ้นปากมดลูก
CHR กระตุ้นต่อมหมวกไตหลั่ง PG
ผลต่อทารก
Death
RDS
NEC
ติดเชื้อ
Periventricular leukomalacia
IVH
hypothermia, hypoglycemia
Bronchopulmonary dysplasia
การคัดกรองสตรีตั้งครรภ์
ซักประวัติกลุ่มเสี่ยง ใช้ Risk score system
ประเมินปากมดลูก
ประเมินการหดตัวของมดลูก
การตรวจสารชีวเคมี fetal fibronectin จากสิ่งคัดหลั่งบริเวณปากมดลูก
การรักษา
GA<24
• ไม่ยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด
• ไม่ให้คอร์ติโคสเตียรอยด์
GA 24-33
• Tocolysis
• ให้ Corticosteroid (28-32)
• GBS Prophylaxis
• ส่งต่อ Ped.
GA>34
• Normal labor
• Tocolysis ถ้า NICU ไม่พร้อม
• GBS Prophylaxis
Tocolysis drug
Magnesium sulfate
การออกฤทธิ์
ลดแคลเซียมในเซลล์ทำให้มีการคลายตัว
ผลข้างเคียง
กดการหายใจ ใจเต้นผิดจังหวะ
Beta adrenergic receptor agonist
การออกฤทธิ์
ลดการหดตัวของมดลูก
ผลข้างเคียง
มือสั่น ใจสั่น pulmonary edema
ห้ามใช้ในสตรีดังนี้
โรคหัวใจ,Tachycardia,hyperthyroidism,DM uncontrol,Hypertension,ครรภ์แฝด แฝดน้ำ, severe hypovolemia,รกเกาะต่ำ
Prostaglandin inhibitor
การออกฤทธิ์
ยับยั้งการเปลี่ยนแปลง arachdonic acid ไปเป็น PG
ผลข้างเคียง
N/V มึนศีรษะ
ข้อห้ามใช้
asthma, CVD, Renal dysfunction, CHD, GA >32 wks
Calcium channel blocker
การออกฤทธิ์
ลดแคลเซียมในเซลล์ ทำให้มดลูกคลายตัว
ผลข้างเคียง
N/V,Hypotension
ข้อห้ามการให้ยายับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด
DFIU
Lethal fetal anormaly
NST non reactive
มารดามี Severe eclampsia, eclampsia
มารดามีเลือดออก ร่วมกับมีการเปลี่ยนแปลงของระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด
Chorioamnionitis
PPROM กรณีที่ติดเชื้อ
มารดามีภาวะแทรกซ้อนที่ห้ามให้ยา
Corticosteroid
ลด RSD
ลด IVH
ลด Mortality rate
ใช้ใน GA 24-34 wks
คำแนะนำ
การเตรียมความพร้อมโดยการที่ข้อมูล
• ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความสำคัญเหตุผลความจำเป็นที่จะต้องได้รับยารวมไปถึงผลข้างเคียงเพื่อให้สตรีปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
• อธิบายถึงภาวะสุขภาพการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นของผู้ป่วยและทารกในครรภ์และผลการตรวจค้นหาสาเหตุการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
• ให้ข้อมูลการพยากรณ์ภาวะสุขภาพ เช่น ความรุนแรงของภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดสามารถรักษาได้ สามารถรักษาได้หรือไม่ มีโอกาสกลับมาเป็นซ้ำได้หรือไม่
• ให้กำลังใจเปลี่ยนเสร็จตั้งครรภ์
• เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์ได้ซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับข้อมูลการรักษาและการเจ็บป่วย
การจัดการความวิตกกังวลและความเครียด
• ดูแลให้นอนพักให้เพียงพอและ สร้างบรรยากาศที่สงบและผ่อนคลายมีการนอนพัก
• จะสิ่งแวดล้อมให้สะอาดและสวยงาม เพื่อเพิ่มความสดชื่น และลดความเบื่อหน่ายของสตรีตั้งครรภ์
• จัดสิ่งแวดล้อมในห้องคลอดให้เอื้ออำนวยต่อความสะดวกในการทำกิจวัตรประจำวัน
• พูดคุยทักทายผู้ป่วยด้วยใบหน้าที่เป็นมิตรเพื่อสร้างความรู้สึกอบอุ่นและผ่อนคลาย
• ส่งเสริมให้ทำกิจกรรมที่ผ่อนคลายความเครียดไม่ส่งผลต่อการหดรัดตัวของมดลูก
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
• สำรวจพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ป่วย
• จัดอาหารให้ตรงกับความต้องการของผู้ป่วย
• จัดทำโปรแกรมดูแลภาวะผู้ชนะการของผู้ป่วยร่วมกับครอบครัว
• สนับสนุนให้ครอบครัวโดยเฉพาะสามีเข้ามาร่วมวางแผนและจัดเมนูอาหาร
• แนะนำให้ผู้ป่วยประเมินภาวะโภชนาการของตนเองด้วยการบันทึกข้อมูล/รายการประเภทของอาหารที่ได้รับในเมนูอาหารประจำวัน
• ให้อมลูกกวาดรถสมุนไพรเพื่อบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน
• ให้ความรู้และดูแลความสะอาดของช่องปากและฟัน
การสนับสนุนของครอบครัวและสังคม
• ส่งเสริมระบบ family Support หรือ social support
• สนับสนุนการเยี่ยมผู้ป่วยของครอบครัวให้สามารถเข้าเยี่ยมขณะรับการรักษาได้ตามความเหมาะสม โดยมีระบบการติดต่อครอบครัวและสอบถํามควํามต้องการในการเข้าเยี่ยม
• จัดสถานที่ห้องคลอดให้มีความสงบและเป็นส่วนตัวเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้พูดคุย ระบายความรู้สึกต่างๆ
• เตรียมความพร้อมของครอบครัวก่อนเข้าเยี่ยมผู้ป่วย โดยกานให้ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับ การดูแลรักษา การพยาบาล แนะนําและอธิบายวิธีช่วยเหลือในการทํากิจกรรมของผู้ป่วย
• แนะนำให้ใช้แนะนำให้ใช้สิทธิ์การรักษา และประโยชน์จากแหล่งสนับสนุนด้านค่ารักษาพยาบาล
การส่งเสริมความสามารถในการดูแลตนเอง
• ประเมินความพร้อมสำหรับการเรียนรู้ และจัดให้บุคคลที่มีความสำคัญต่อการเรียนรู้ เช่น สามี หรือบุคคลในครอบครัว เข้าร่วมรับฟังหรือมีส่วนร่วม เพื่อเป็นแรงเสริมการเรียนรู้
• แนะนำการปฏิบัติตนที่ถูกต้อง ได้แก่ พักผ่อน ไม่ทำงานหนัก ไม่ยกของหนัก ไม่ขึ้นลง บันไดสูงๆ ไม่ยืนหรือเดินนานๆ ไม่เดินทางไกล งดการร่วมเพศ งดการกระตุ้นบริเวณหัวนม
• แนะนำให้สังเกตอาการเตือนของการเจ็บครรภ์ เช่น มดลูกหดรัดตัวถี่มากกว่า 4 ครั้ง ใน 1 ชั่วโมง มีน้ำหรือมูกเลือดออกจากทางช่องคลอด หากเกิดอาการปวดท้อง ปวดหน่วงในช่องคลอด ปวดหลัง ปวดเอว ควรรีบมาพบแพทย์ทันที เนื่องจากมี โอกาสเจ็บครรภ์ซ้ำได้
• แนะนำวิธีรับประทานยาให้ตรงเวลา และสังเกตฤทธิ์ข้างเคียงของยา ได้แก่ ใจสั่น หน้ามีด วิงเวียนศีรษะ หายใจลำบาก บวม ท้องอีด กล้ามเนื้ออ่อนแรง และสอนให้จับ ชีพจรตนเอง ถ้าชีพจรเร็วกว่า 120 ครั้งต่อนาที ให้หยุดรับประทานยาไว้ก่อนและให้นอนพักผ่อน
• มาตรวจตามนัดอย่างเคร่งครัด
สาธิตและแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อมีอาการเตือนของการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
• ผ่อนคลายความวิตกกังวล นอนพักทันทีในท่านอนตะแคงซ้าย โดยใช้หมอนหนุน หนึ่งใบ อาจใช้หมอนหนุนบริเวณหลังเพื่อให้รู้สึกสบายขึ้น
• หนึ่งใบ อาจใช้หมอนหนุนบริเวณหลังเพื่อให้รู้สึกสบายขึ้น ของการหดรัดตัวของมดลูกใน 1 ชั่วโมง และระยะเวลาที่มดลูกหดรัดตัวในแต่ละครั้ง ถ้า ดลูกหดรักตัว 4 ครั้งขึ้นไป หรือมีอาการเจ็บครรภ์คลอดให้มาโรงพยาบาล
PROM/PPROM
การที่ถุงน้ำคร่ำรั่วหรือแตกเอง (spontaneous ruptured of membrane: SAM) ก่อนมี
อาการเจ็บครรภ์จริง (onset of true labor pain) นาน 1-12 ชั่วโมง (Reiters and Walsh, 2019)
• ถ้าถุงน้ำคร่ำแตกเมื่ออายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ เรียกว่า
PPROM
(Pliteri, 2014: 571)
สันนิษฐานว่าเกิดจากเนื้อเยื่อของถุงน้ำคร่ำบางตัวลง เมื่อมตลูกมีการยึดขยายมากขึ้นตามอายุ ครรภ์ที่เพิ่มขึ้น หรือเกิดจากมีการอักเสบติดเชื้อของเนื้อเยื่อถุงน้ำคร่ำ ส่งผลให้มีการย่อยสลายของ โปรตีน (proteolysl8) ทำให้ถุงน้ำคร่ำอ่อนแอลง และแตกได้ (ฉวี เบาทรวง, 2561: 143)
ปัจจัยเสี่ยง
มีประวัติ PROM หรือ คลอดก่อนกำหนด
chorioamnionitis ติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
การติดเชื้อที่อวัยวะสืบพันธสุ์ส่วนล่าง เช่น หนองใน
ครรภ์แฝด แฝดน้ำ ซึ่งจะทำให้มดลูกยืดขยายมากกว่าปกติและมีแรงดันภายในมดลูกเพิ่มขึ้น
ความผิดปกติของปากมดลูก
การทำหัตถการบางอย่าง เช่น การเจาะน้ำคร่ำส่งตรวจ (amniocentesis) การเจาะตรวจเนื้อรก
(chorionic villus sampling: CUS) การเย็บผูกปากมดลูก (cervical cerclage) เป็นต้น
รกเกาะต่ำ
ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ เช่น ท่ากัน ท่าขวาง ทำให้ส่วนนำไม่แนบสนิทกัส่วนล่างเชิงกรานส่งผลให้เกิดแรงตันโดยตรงลงมาที่ถุงน้ำคร่ำ และทำให้ถุงน้ำค่ำแตกได้ง่าย
ปัจจัยส่วนบุคคล เช่น สูบบุหรี่ เศรษฐานะต่ำ ทุพโภซนาการ ขาตวิตามินซี
โรค SLE ได้รับยาสเตียรอยด์ต่อเนื่องเป็นเวลานาน เป็นดัน
สาเหตุ
ยังไม่แน่ชัด
อาการและอาการแสดง
หญิงตั้งครรภ์มักมาโรงพยาบาลด้วยอาการมีน้ำไหลซึม ออกจากช่องคลอดเรื่อยๆ ที่ละน้อยๆ กลั้นไม่ได้ หรือมีน้ำใสๆ หรือน้ำสีเหลืองจางๆ ไหลออกทางช่องคลอด ทันทีจนเปียกผ้าถุงหรือกางเกง บางรายไหลแล้วหยุดไป โดยไม่มีอาการเจ็บครรภ์ บางรายมีการเจ็บครรภ์ตามมา ( ฉวี เบาทรวง, 2561: 145; Relters and Walsh, 2019)
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจโดยใช้เครื่องมือถ่างขยายช่องคลอด (sterile speculum examination) เพื่อดูว่ามีน้ำคร่ำไหลออกมาจากปากมดลูกจริงหรือไม่
ㆍ ถ้าถุงน้ำคร่ำแตก หรือรั่วจริง จะเห็นน้ำคร่ำชังอยู่ในช่องคลอด บริเวณ posterior fornix
ทดสอบโดยการให้ผู้คลอดไอ (cough test หรือเบ่งลงกันเบาๆ (valsalua test)
ㆍ เห็นน้ำไหลออกมาจากปากมดลูก หรือพบน้ำขังอยู่ในช่องคลอด
ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
• มีกดเจ็บที่มดลูก น้ำคร่ำมีสี หรือกลิ่นผิดปกติ
ห้ามตรวจภายในด้วยนิ้วมือ (diaital examination) เพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ยกเว้นในรายที่มีอาการเจ็บครรที่คลอด หรือมีแผนชักนำการคลอด โดยให้คลอดภายใน 24 ชั่วโมง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
. Nitrazine paper test: ทดสอบความเป็นกรด-ต่างของน้ำในช่องคลอด หรือที่ปากมดลูก โดยการนำน้ำในช่องคลอดมาหยดลงบนกระดาษไนทราน ซึ่งเป็นสีเหลือง
ㆍ ถ้าเป็นน้ำคร่ำกระดาษจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน (ผลบวก เนื่องจากน้ำคร่ำมีฤทธิ์เป็นต่าง
ㆍ ถ้าเป็นปัสสาวะ เมื่อก หรือมูกในช่องคลอด กระดาษจะไม่เปลี่ยนสี หรือเปลี่ยนเป็นสีเขียวเนื่องจากมีฤทธิ์เป็นกรด
Fern test การนำน้ำในช่องคลอดมาป่ายบนแผ่นสไลด์ ทิ้งไว้ให้แห้ง ประมาณ 5-7 นาที แล้วส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ จะเห็นผลึกของโชเตียมคลอไรด์ที่อยู่ในน้ำคร่ำเป็นรูปคล้ายใบเฟีร์น
ㆍ การตรวจวิธีนี้ ใช้ด้ตั้งแต่อายุครรภ์ 12 สัปดาห์ขึ้นไป
ㆍ ให้ผลลบลวงได้ ถ้าถุงน้ำคร่ำแตกนานเกิน 24 ชั่วโมง หรือมีมูกเลือด หรือมีขี้เทาปน
Nile blue test โดยนำน้ำในช่องคลอด 1 หยด ผสมกับ 0.1% Nile blue sulfate 1 หยดลงบน แผ่นสไลด์ ปิดด้วย cover slip ลนไฟเล็กน้อย แล้วส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ถ้าเป็นน้ำคร่ำ จะพบเซลล์ไขมันของทารติดสีแสต ไม่มีนิวเคลียส ส่วนเซลล์อื่นจะติดสีน้ำเงิน
การตรวจนี้ไม่มีผลบวกลวง มีผลลบลวงไต้หากตรจในอายุครรภ์น้อยกว่า 32-3เซลล์ไขมันของทากปริมาณน้อย
การตรวจ ultrasound
ตรวจดูปริมาณน้ำคร่ำด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง หากพบปริมาณน้ำคร่ำเหลือน้อยมาก (severe Oligohydramnios) ร่วมกับมีประวัติถุงน้ำคร่ำแตกอย่างชัดเจน จะช่วยการวินิจฉัยได้แม่นยำมากขึ้น
ผลกระทบของภาวะ PROM
มารดา
เสี่ยงต่อการติดเซื้อในโพรงมดลูก
เพิ่มอุบัติการณ์การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ผลกระทบระยะยาว คือ ติดเชื้อในกระแสเลือด (sepsis) ติดเชื้อที่เยื่อบุโพรงมดลูกหลังคลอด (endometrits) และติดเซื้อที่ตัวมดลูก (metrtis)
ทารก
ผลกระทบในระยะเฉียบพลัน คือ เสี่ยงต่อการเกิตภาวะสายสะดือย้อย (prolapsed cord) ะตือถูกกติ (cord compression) และทารกในครรภ์ขาตออกซิเจน (fetal distress)
ผลกระทบในระยะต่อมา คือ เสี่ยงต่อการเจ็บครรภ์และคลอดก่อนกำหนด เพิ่มอัตราทารถตายปริกำเนิต (perinatal mortalty) และอัตราเจ็บป่วยทุพพลภาพ (perinatal morbidity)
เพื่มความเสี่ยงต่อการติตเชื้อในกระแสเลือด (neonatal sepsis)
ภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ จากการคลอดก่อนกำหนด ได้แก่ กาวะขาดออกซิเจน เยื่อหุ้มสมอง อักเสบ เลือดออกในสมอง ปอดขยายตัวได้น้อย เกิดกลุ่มอาการหายใจลำบากในทารก และ น้ำคร่ำน้อย
การรักษา
การตรวจยืนยันการวินิจฉัยที่ชัดเจน
ประเมิประเมินและยืนยันอายุครรภ์ที่แน่นอนโดยคำนวณจากวันที่มาประจำเดือนครั้งสุดท้าย หรือ U/S
ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ RDS ของทารกหากมีการคลอดก่อนกำหนด
3.1 การทำ NST, BPP, U/S เพื่อดูปริมาณน้ำคร่ำ
3.2 ประเมินความสมบูรณ์ของปอดทารก
3.3 การตรวจ phosphatidyl glycerol (PG) ต้องมากกว่าร้อยละ 3
เฝ้เฝ้าระวังการติดเชื้อ
ให้ให้ยากดภูมิ Corticosteroid เพื่อกระตุ้นปอดในทารก
ให้ยายับยั้งการธุระตัวของมดลูกในรายที่อายุครรภ์ไม่ครบกำหนดแล้วต้องการยืดอายุครรภ์
การตรวจการตรวจภายในช่องคลอดด้วย Sterile speculum
รับสตรีตั้งครรภ์ไว้ดูแลรักษาที่โรงพยาบาล
ประเมินอายุครรภ์ น้ำหนักทารกในครรภ์ ท่าและส่วนนำของทารก
ประเมินสาเหตุของการมีน้ำเดินก่อนกำหนด
10.1 เพาะเชื้อเพราะเชื้อจากทวารหนักและช่องคลอด
10.2 เก็บปัสสาวะส่งตรวจ
10.3 เจาะเลือดเจาะเลือดเพื่อตรวจ CBC
กรณีที่อายุครรภ์มากกว่าหรือเท่ากับ 34 สัปดาห์
ㆍ ในรายที่มีน้ำเดินเกิน 12 ชั่วโมง หรือมี chorioamnionitis แพทย์จะชักนำการคลอด ร่วมกับให้ ยาปฏิซีวนะแบบ broad spectrum
. กรณีที่มีน้ำเดินไม่ถึง 12 ชั่วโมง ให้การดูแลแบบ expectant ร่วมกับให้ยาปฏิชีวนะ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
• สถานพยาบาลที่ไม่สามารถให้การดูแลทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมได้ ให้ส่งต่อมารดา ไปยังสถานพยาบาลที่มีประสิทธิภาพในการดูแลทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
กรณีที่อายุครรภ์ตั้งแต่ 24-33 สัปดาห์
ㆍ ให้การดูแลแบบ expectant โดยตรวจวัดสัญญาณชีพและ CBC ทุกวัน
• เฝ้าระวังทารถในครรภ์ ตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงเพื่อวัดปริมาณน้ำคร่ำสัปดาห์ละ 2 ครั้ง
ㆍ ให้ยาสเตียรอยต์แบบครั้งเดียว
ให้คลอดเมื่อตรวจพบว่ามี chorioamniontis, non-reassuring fetal testing. placental abruption, advanced labor หรือเมื่ออายุครรภ์ครบ 34 สัปดาห์
• ประเมินสุขภาพมารดา ได้แก่ วัดสัญญาณชีพ ตรวจร่างกายทั่วไปเบื้องต้น และตรวจครรภ์
ㆍประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์ โดยการฟัง FHร ด้วยหูฟัง เครื่อง Doptone หรือตรวจ cardiatocography ร่วมกับตรวจการหครัดตัวของมดลูก
ตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง ดูความผิดปกติท่าและส่วนนำของทารก ปริมาณน้ำคร่ำ สภาพรก ตลอดจนตัวมดลูก และอาจรวมถึงรังไข่ทั้งสองข้าง
แจ้งทีมผู้ดูแลการคลอดก่อนกำหนด ได้แก่ สูติแพทย์ กุมารแพทย์ พยาบาลห้องคลอดและ พยาบาลหน่วยทารกแรกเกิตรับทราบส่วงหน้า ในกรณีที่คาดว่าจะมีการคลอดก่อนกำหนด
การจำหน่ายกลับบ้าน
สตรีตั้งครรภ์จะได้รับอนุญาตให้กลับบ้านได้เมื่อ
• ได้รับความยินยอมจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
• สามารถติดตามเฝ้าระวังสุขภาพมารดาและทารในครรภ์ ภายใน 72 ชั่วโมง หลังออกจากโรงพยาบาล
• ผู้ป่วยเข้าใจดีถึงอาการและอาการแสดงของ chorioamnionitis
• ผู้ป่วยสามารถวัดอุณหภูมิกายได้วันละ 2 ครั้ง
• ผู้ป่วยสามารถมาพบแพทย์ตามนัตได้
คำแนะนำ
งดการทำงานหนัก การยกของหนัก และการยืนหรือเดินนานๆ
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ วันละ 6-8 ชั่วโมง และนอนกลางวัน วันละ 1-2 ชั่วโมง
ล้างทำความสะอาดวัยะสืบพันธุ์ภายนอกทุกครั้งหลังเข้าห้องน้ำ และแช็ดให้แห้ง
ทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
งดมีเพศสัมพันธ์
สังเกตการดิ้นของทารก
สังเกตอาการผิดปกติที่ต้องมาพบแพทย์ เช่น มีน้ำคร่ำออกมา น้ำคร่ำเหม็น
เน้นย้ำการมาฝากครรภ์
ให้คำแนะนำขจัดความเครียด
การพยาบาลสตรีที่มีภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
คัดกรองสตรีตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยง
ประเมินความรู้และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว
อธิบายสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง และผลกระทบของภาวะฤงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีไปรตีนและวิตามินสูง รวมถึงอาหารที่มีคุณค่าโภชนาการสูงเพียงพอ
แนะนำให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ หลีกเสี่ยงการทำงานหนัก
แนะนำการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและอวัยวะสืบพันธุ์
ดื่มน้ำให้เพียงพอ วันละ 6-8แก้ว (1,500-2,000 ml.)
ไม่กลั้นปัสสาวะ
งดการมีเพศสัมพันธ์ในรายที่มีความสี่ยงสูง
งดสูบบุหรี่ และการใช้สารเสพติดทุกชนิด
ประเมินอาการและการติดเชื้อในโพรงมดลูก หรือถุงน้ำคร่ำ การติดเชื้อในช่องคลอด การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
แนะนำให้สังเกตุอาการแสดงของภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
เน้นย้ำให้มากฝากครรภ์ตามนัดทุกครั้ง
ก่อนคลอด
ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพมารดา FHS
ให้ใส่ผ้าอนามัย พร้อมทั้งประเมินลักษณะ สี กลิ่น และปริมาณน้ำคร่ำ
ประเมินการหดรัดตัวของมตลูก
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ดูแลให้นอนพักบนเตียงให้มากที่สุด เพื่อลดการรั่วไหลของน้ำคร่ำ
ดูแลทำความสะอาดอวัยวะลีบพันธุ์
หลีกเลียงการตรวจภายใน
ดูแลให้ได้รับยาตามแผ่นการรักษา
ระยะคลอด
ให้การพยาบาลตยยีดหลักปราศจากชื้อ
แจ้งกุมารแพทย์เพื่อเตรียมช่วยเหลือทารกแรกเกิด
เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ช่วยคลอด รวมถึงอุปกรณ์ช่วยชีวิตทารก
หลังคลอด
เน้นการพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อในโพรงมดลูก และแผลฝีเย็บให้มากขึ้น
ภาวะแทรกซ้อน
การติดเชือในโพรงมดลูก (Chorioamnionitis)
ภาวะรกลอกตัวก่อนก้าหนด (Abruptioplacenta)
ภาวะสายสะดือโผล่ย้อย (Prolap cord)
ทารกในครรภ์เสียชีวิตจากหลอดเลือดสายสะดือฉีกขาด
ทารกคลอดก่อนก้าหนด
ปอดทารกไม่ขยาย
มารดามีโอกาสถูกผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเพิ่มมากขึน