Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรอบหลักสูตรขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช..... - Coggle Diagram
กรอบหลักสูตรขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช.....
แนวทางการจัดการเรียนรู้ และการประเมินการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้เน้นที่การนําความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะมาประยุกต์ใช้ในการทํางาน
การแก้ปัญหา และการใช้ชีวิต
การประเมินการเรียนรู้
การประเมินเพื่อสรุปผลเป็นการพิจารณาสมรรถนะเฉพาะและสมรรถนะหลักเพื่อทําการตัดสินใจ
ในหลายลักษณะ ทั้งการตัดสินผลการเรียน การเลื่อนชั้น และการจบการศึกษา
การตัดสินผลการเรียน
ตัดสินผลการพัฒนาสมรรถนะหลักของผู้เรียน
ตัดสินผลการเรียนตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยกําหนดเป็นระดับผลการเรียนซึ่งสะท้อนถึงความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของผู้เรียน
การรายงานผลการพัฒนาและการเลื่อนชั้น
การรายงานผลการพัฒนา
การรายงานผลการเรียนรู้ในระหว่างชั้นปีและเมื่อจบช่วงชั้นให้อิงสมรรถนะผ
ลการเรียนรู้ตามผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ผู้เรียนบรรลุ
สรุปผลระดับสมรรถนะหลักที่ผู้เรียนบรรลุ
หากผู้เรียนย้ายสถานศึกษาระหว่างการศึกษาภายในชั้นปี สถานศึกษาดําเนินการสรุป
รายงานผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในปีการศึกษาที่ผ่านมาและผลการเรียนรู้ที่บรรลุในช่วงเวลานั้น
การเลื่อนชั้น
การเลื่อนชั้นระหว่างชั้นปี
การเลื่อนชั้นเมื่อจบช่วงชั้น
การจบการศึกษา
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (การศึกษาภาคบังคับ)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (การศึกษาขั้นพื้นฐาน)
ระดับประถมศึกษา
เกณฑ์การจบการศึกษา
1) มีผลการเรียนตามผลลัพธ์การเรียนรู้ ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากําหนด
2) มีผลการพัฒนาสมรรถนะหลักตามเกณฑ์ที่ส่วนกลางกําหนด
หลักฐานการจบการศึกษาจากสถานศึกษาให้อิงสมรรถนะ
สถานศึกษาเป็นผู้พิจารณาอนุมัติการจบการศึกษา
แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
ขั้นตอนที่ 1
เตรียมความพร้อมในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะ
1) แต่งตั้งคณะกรรมการ
2) จัดทำข้อมูลความต้องการจำเป็นตามบริบทของสถานศึกษา ชุมชน ท้องถิ่น และสถานการณ์ปัจจุบัน
3) ศึกษาการจัดการศึกษาฐานสมรรถนะ
4) ศึกษา (ร่าง) กรอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ....
ขั้นตอนที่ 2
ร่างหลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะ และตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร
1) จัดทํา (ร่าง) หลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะ และรายละเอียดของหลักสูตร
2) ตรวจพิจารณาคุณภาพหลักสูตร
3) เสนอคณะกรรมการสถานศึกษา/ คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาพิจารณาให้ความเห็นชอบ
ขั้นตอนที่ 3
นําหลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะไปใช้ และปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
1) นําหลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะไปใช้
1.1) จัดทําโครงสร้างรายวิชา เพื่อช่วยให้เห็นภาพรวมของรายวิชาประกอบด้วยชื่อหน่วยการเรียนรู้ และเวลาเรียนของแต่ละหน่วย โดยมีข้อคํานึงในการจัดทําโครงสร้างรายวิชา
1.2) จัดทําหน่วยการเรียนรู้ โดยพิจารณาผลลัพธ์การเรียนรู้รายปี/รายภาค สมรรถนะหลักและสมรรถนะเฉพาะทั้งด้านความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ
2) ระบบการจัดการเรียนรู้ควบคู่การประเมินเพื่อพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน
การกําหนดจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงสมรรถนะ ออกแบบการเรียนรู้ และออกแบบการประเมิน
วงจรการปฏิบัติการประเมินเพื่อการเรียนรู้
การพัฒนาต่อยอด
โครงสร้างเวลาเรียน
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ
เวลาเรียน 15%-20%
เวลาเรียนรวม 45% - 55%
ศิลปะ สุขศึกษาและพลศึกษา สังคมศึกษา ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม
เวลาเรียนไม่เกิน 10 %
เวลาเรียนบูรณาการข้ามสาระการเรียนรู้ 25% - 45 %
เวลาเรียนรวม 35% - 45%
กิจกรรมเพิ่มเติมตามจุดเน้นและบริบท
ของสถานศึกษา และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เวลาเรียนรวม 10 %
เวลาเรียนรวมทั้งหมด ไม่เกิน 800 ชั่วโมง/ปี